Page 10 - จดหมายข่าว วช. 58
P. 10

(ต่อจากหนา้ 	9)

                 ศาสตราจารย์ ดร.เภสัชกรหญิง ภาวณิ ี ปย ะจตรุ วัฒน์
                 แห่งคณะวทิ ย�ศ�สตร มห�วิทย�ลัยมหิดล
                 (ส�ข�วิทย�ศ�สตรเ คมแี ละเภสัช)
                 	 เปน็ ผ้รู เิ ร่มิ 	บกุ เบกิ 	การศกึ ษาวจิ ยั สมนุ ไพรไทยวา่ นชกั มดลกู อยา่ งจรงิ จงั และเปน็ ระบบ	โดยไดเ้ นน้ ศกึ ษาดา้ นกลไก
                 การออกฤทธิ์	ท้งั ท่ีเปน็ คณุ และเป็นโทษต่อระบบตา่ ง	ๆ	ของร่างกาย	จนปัจจุบนั มีผลงานวจิ ัยท่ตี พี มิ พ์ในวารสารวิชาการ
                 นานาชาติเกี่ยวกับวา่ นชกั มดลูกจา� นวนมาก	มอี งค์ความร้เู ป็นทีย่ อมรบั 	และไดพ้ บว่าว่านชักมดลกู มีหลากหลายสายพนั ธ	ุ์
                 ท้ังทีม่ ฤี ทธดิ์ ีเดน่ 	และท่มี คี วามเปน็ พิษ	ปรมิ าณและคณุ ภาพของสารออกฤทธทิ์ แ่ี ตกต่างกนั 	ดังนน้ั 	การควบคมุ มาตรฐาน
                 ของวตั ถดุ บิ จงึ เปน็ เรอื่ งทสี่ า� คญั 	และยังช่วยเพ่ิมมลู คา่ ของสมนุ ไพรไทย	ลดการน�าเข้า	และช่วยลดการขาดดุลการคา้ ของ
                 ประเทศ
                 รองศาสตราจารย์ ดร.มงคล สุขวฒั นาสินิทธิ์
                 แหง่ คณะวิทย�ศ�สตร จฬุ �ลงกรณม ห�วทิ ย�ลัย
                 (ส�ข�วิทย�ศ�สตรเคมแี ละเภสัช)
                 	 ได้ท�าการสังเคราะห์และศึกษาสมบัติของพอลิไดแอเซทิลีนเพื่อใช้เป็นวัสดุแกรทติง้ 	 และได้ท�าการศึกษาวิจัย
                 เกย่ี วกบั การออกแบบโครงสรา้ งโมเลกลุ และสงั เคราะหส์ ารจา� พวกแมโครไซคลกิ เพ่อื การประยกุ ตใ์ ชเ้ ปน็ โมเลควิ ลารส์ วทิ ช์
                 และตัวแยกจับสารที่สนใจออกจากน�า้ 	 สามารถน�าผลงานวิจัยมาต่อยอดและประยุกต์ใช้ในงานด้านอุตสาหกรรม
                 เกษตรและทางการแพทย์	ซึ่งผลงานวิจัยได้รับการตพี ิมพ์ในวารสารระดบั นานาชาตทิ ่ีคา่ 	impact	factor	สูง	นอกจากนี้
                 ยังมีงานวิจัยในอนาคตที่เกีย่ วข้องกับการพัฒนาสารอินทรีย์ที่มีระบบพายคอนจูเกต	 ให้เป็นอุปกรณ์ตรวจวัดทางเคมี
                 และชีวเคมีที่มีประสทิ ธภิ าพ	อีกทั้งยงั ได้รบั การยอมรับในระดบั นานาชาต	ิ จากการทไ่ี ดร้ ับเชิญให้เปน็ ผปู้ ระเมินบทความ
                 ทีต่ พี ิมพ์ในวารสารนานาชาติ
                 ศาสตราจารย์ นายสัตวแพทย์ ดร.รุง่ โรจน์ ธนาวงษ์นเุ วช
                 แหง่ คณะสตั วแพทยศ�สตร จุฬ�ลงกรณม ห�วทิ ย�ลยั
                 (ส�ข�เกษตรศ�สตรแ ละชีววทิ ย�)
                 	 เปน็ นกั วจิ ยั ท่สี รา้ งองคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั กลไกการปฏสิ มั พนั ธร์ ะหวา่ งไวรสั พอี ารอ์ ารเ์ อสกบั เชอ้ื อ่นื 	ๆ	และตอ่ ระบบ
                 ภมู คิ มุ้ กนั ของสกุ ร	รวมถงึ การประยกุ ตแ์ ละตอ่ ยอดองคค์ วามรทู้ ไ่ี ดม้ าใชใ้ นการแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั โรคพอี ารอ์ ารเ์ อส
                 ทพ่ี บในภาคสนาม	ท�าการพัฒนาชดุ ทดสอบและวัคซนี ในการปอ้ งกันโรคพอี าร์อารเ์ อสตน้ แบบ	และได้เผยแพร่ขอ้ มลู จาก
                 งานวจิ ยั ทเ่ี ปน็ ประโยชนส์ สู่ าธารณชน	เพ่อื จดุ ประสงคใ์ นการพฒั นาแนวทางการจดั การ	ควบคมุ 	และปอ้ งกนั โรคอยา่ งเปน็
                 ระบบ	และมีประสทิ ธภิ าพเป็นรูปธรรมอยา่ งยง่ั ยืน	เป็นทีย่ อมรบั ในวงวิชาการทง้ั ในระดบั ชาตแิ ละระดับนานาชาติ
                 ศาสตราจารย์ ดร.ศุภยางค์ วรวุฒคิ ณุ ชัย
                 แห่งคณะวิทย�ศ�สตร มห�วทิ ย�ลยั สงขล�นครนิ ทร
                 (ส�ข�เกษตรศ�สตรแ ละชีววิทย�)
                 	 เป็นนักวิจัยที่ได้สร้างองค์ความรู้ส�าหรับน�ามาใช้ในการแก้ไขปัญหาทางด้านสาธารณสุข	 โดยท�าการศึกษาวิจัย
                 ทางด้านผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ	 ทีม่ ุ่งเน้นการหาสารที่มีฤทธิท์ างชีวภาพที่ดีจากสมุนไพร	 เพือ่ น�ามาใช้เป็นสารโครงสร้างน�า
                 ในการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ยา	 ซึ่งการค้นพบทีม่ ีความส�าคัญได้แก่	 สารโรโดไมรโทนซึง่ เป็นสารที่มีศักยภาพสูงในการ
                 ตา้ นเช้อื แบคทเี รยี ท่มี ปี ญั หาในการดอ้ื ยาปฏชิ วี นะ	เพ่อื ใชเ้ ปน็ ขอ้ มลู ในการศกึ ษากลไกการออกฤทธเ์ิ พอ่ื พฒั นาเปน็ ยาใหม	่
                 ท�าใหไ้ ดร้ บั ความสนใจอยา่ งแพรห่ ลายสง่ ผลให้เกดิ ความร่วมมอื กับสถาบนั นานาชาตหิ ลายแห่ง

10 สำ�นักง�นคณะกรรมก�รวิจัยแหง่ ช�ติ (วช.)
       National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15