Page 11 - จดหมายข่าว วช. 58
P. 11

ศาสตราจารย์ ดร.ปริญญา จินดาประเสริฐ
                แห่งคณะวศิ วกรรมศ�สตร มห�วิทย�ลยั ขอนแก่น
                (ส�ข�วศิ วกรรมศ�สตรแ ละอตุ ส�หกรรมวิจยั )
                  	 เป็นผู้ทีศ่ ึกษาวิจัยด้านวิศวกรรมโยธาตัง้ แต่เริ่มรับราชการเป็นอาจารย์เมือ่ ปี	 2524	 โดยได้เริม่ งานวิจัยทาง
                  ด้านวัสดุซีเมนต์และคอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิง่ แวดล้อมเมือ่ ปี	 2526	 และได้เสนองานวิจัยเรื่องปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์
                  ผสมเถ้าลอยแม่เมาะในปี	 2528	 จากการวิจัยอย่างต่อเนื่องท�าให้ได้รับรางวัลนักเทคโนโลยีดีเด่นประจ�าปี	 2545	 และ
                  ยังผลิตผลงานวิจัยที่มีคุณภาพสูงออกมาอย่างต่อเนื่องเป็นจ�านวนมากทั้งในระดับชาติและระดับนานาชาติ	 และเป็นผู้
                  สรา้ งผลงานวจิ ยั ในการศกึ ษาและพฒั นาการใชป้ ระโยชนข์ องเถา้ ถา่ นหนิ อยา่ งจรงิ จงั 	ซ่งึ กอ่ ใหเ้ กดิ ประโยชนต์ อ่ วงวชิ าการ
                  ทง้ั ในเชงิ ปรมิ าณและเชงิ คณุ ภาพ	รวมท้งั ไดว้ จิ ยั การใชส้ ารปอซโซลานประเภทอน่ื 	และไดเ้ ร่มิ งานวจิ ยั ทางดา้ นจโี อโพลเิ มอร์
                  และคอนกรีตพรุนของประเทศไทย	 และสร้างงานวิจัยและกลุ่มนักวิจัยไทยด้านวัสดุซีเมนต์และคอนกรีตที่เป็นมิตรกับ
                  สง่ิ แวดล้อม	ทา� ใหเ้ กิดผลงานปรากฏเปน็ บทความในระดบั นานาชาตมิ ากท่สี ดุ ในสายวศิ วกรรมโยธาของไทย

                ศาสตราจารย์ ดร.ศักดา ปันเหน่งเพช็ ร์
                แหง่ คณะนเิ ทศศ�สตร จุฬ�ลงกรณมห�วทิ ย�ลยั
                (ส�ข�ปรชั ญ�)
                  	 เปน็ นกั วจิ ยั ท่อี ทุ ศิ ตนใหก้ บั การวจิ ยั เพ่อื พฒั นาวชิ าการทางดา้ นนเิ ทศศาสตรม์ าอยา่ งตอ่ เนอ่ื งยาวนาน	มผี ลงาน
                  ทีร่ ิเริม่ และบุกเบิก	 และมีทักษะในเรื่องระเบียบวิทยาการวิจัยอย่างมาก	 อีกทั้งมีความสามารถในการใช้ภาษาไทย
                  เรียบเรยี งรายงานการวิจยั ไดก้ ระจ่างชัด	จนสามารถเป็นผลงานทใ่ี ช้อา้ งอิงทางวิชาการไดเ้ ป็นอย่างดยี ง่ิ
                ศาสตราจารย์ สายันต์ ไพรชาญจิตร์
                แห่งคณะสงั คมสงเคร�ะหศ �สตร มห�วทิ ย�ลัยธรรมศ�สตร
                (ส�ข�ปรัชญ�)
                  	 เปน็ นกั วจิ ยั ท่มี คี วามมงุ่ มน่ั ในการทา� วจิ ยั ดา้ นโบราณคดอี ยา่ งตอ่ เน่อื งมาเปน็ เวลานานถงึ 	33	ป	ี โดยไดส้ รา้ งและ
                  พฒั นานวตั กรรมทางการวจิ ยั ดา้ นการพฒั นาชมุ ชน	โดยสรา้ งแบบแผนการวจิ ยั ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาแบบมสี ว่ นรว่ มท่เี รยี กวา่ 	
                  “กระบวนการโบราณคดชี มุ ชน:	Community	Archaeology	Process”	ซง่ึ ไดร้ บั การยอมรบั วา่ เปน็ แนวคดิ และแบบแผน
                  ส�าคัญในการพัฒนาชุมชน	 เพราะเป็นกระบวนการส่งเสริมการอนุรักษ์และพัฒนามรดกทางวัฒนธรรมแบบมีส่วนร่วมที่
                  สร้างความสามารถของบุคคลและชุมชนในการจัดการทรัพยากรทางโบราณคดีไปพร้อม	 ๆ	 กับการพัฒนาชุมชน	 ท�าให้
                  ชมุ ชนมีความม่นั คงและคนในชมุ ชนรกั ท้องถ่นิ 	รว่ มมอื รว่ มใจกนั น�าความเจริญมาส่ทู อ้ งถิน่
                ศาสตราจารย์ ดร.อ�านาจ วงศบ์ ัณฑิต
                แห่งคณะนติ ิศ�สตร มห�วทิ ย�ลยั ธรรมศ�สตร
                (ส�ข�นิตศิ �สตร)
                  	 เป็นผทู้ ่ีมผี ลงานทเ่ี ป็นประโยชนต์ อ่ องคก์ รทีเ่ กีย่ วกบั การปรบั ปรงุ แกไ้ ขพระราชบญั ญัตโิ รงงาน	พ.ศ.	2535	ให้
                  แก่โรงงานอุตสาหกรรม	 และการจัดท�าร่างกฎหมายแร่แก่กรมอุตสาหกรรมพืน้ ฐานและการเหมืองแร่	 รวมทัง้ การจัดท�า
                  ร่างกฎหมายเพื่อส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการอนุวัติการให้เป็นตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญ
                  ให้แกก่ รมควบคมุ มลพิษ
                ศาสตราจารย์ ดร.ธนารักษ์ ธีระมน่ั คง
                แหง่ สถ�บันเทคโนโลยีน�น�ช�ตสิ ริ ินธร มห�วทิ ย�ลัยธรรมศ�สตร
                (ส�ข�เทคโนโลยีส�รสนเทศและนเิ ทศศ�สตร)
                  	 เป็นนักวิจัยที่มีความช�านาญ	 และมีประสบการณ์เกี่ยวกับเรือ่ งที่ท�าการวิจัย	 ผลิตงานวิจัยทีม่ ีคุณภาพ	 พัฒนา
                  ทรพั ยากรสา� หรบั การจดั การขอ้ มลู ขนาดใหญบ่ นเครอื ขา่ ยอนิ เตอรเ์ นต็ 	ตน้ แบบฐานความรกู้ ารแพทย	์ ระบบสรปุ ความขา่ ว
                  ภาษาไทย	 โปรแกรมพื้นฐานในการประมวลผลภาษาไทย	 พัฒนาทรัพยากรเชิงค�านวณเพื่อวิเคราะห์ข้อความภาษาไทย	
                  เป็นตน้ 	ซึ่งนา� ไปสู่งานวิจัยทมี่ ีคุณภาพอย่างต่อเนือ่ ง
       ผไู้ ดร้ บั กำรประกำศเกยี รตคิ ณุ เปน นกั วจิ ยั ดเี ดน่ แหง่ ชำติ จะไดร้ บั เหรยี ญนกั วจิ ยั ดเี ดน่ แหง่ ชำติ พรอ้ มประกำศนยี บตั รเชดิ ชเู กยี รตคิ ณุ
และเงินรำงวัลในแต่ละสำขำวชิ ำกำร สำขำละ 500,000 บำท

                                           11ส�ำ นกั ง�นคณะกรรมก�รวจิ ัยแห่งช�ติ (วช.)

                                                                                                                 National Research Council of Thailand (NRCT)
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16