Page 11 -
P. 11

การประชุมสภานโยบายวิจัยและนวัตกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 3/2560



                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ ดังนี้ (1) สังคมสูงวัยและสังคมไทยในศตวรรษที่ 21 (2) คนไทย

          สํานักงานคณะกรรมการนโยบายวิทยาศาสตร เทคโนโลยีและ ในศตวรรษที่ 21 (3) สุขภาพและคุณภาพชีวิต (4) การบริหาร
          นวัตกรรมแหงชาติ (สวทน.) จัดการประชุมสภานโยบายวิจัย จัดการนํ้า การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และสิ่งแวดลอม
          และนวัตกรรมแหงชาติ ครั้งที่ 3/2560 เมื่อวันที่ 20 กันยายน  และ (5) การกระจายความเจริญและเมืองนาอยู
          2560 ณ ตึกสันติไมตรี (หลังใน) ทําเนียบรัฐบาล โดยมี         ยุทธศาสตรที่ 3 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการ
          พลเอก ประยุทธ จันทรโอชา นายกรัฐมนตรี หัวหนาคณะรักษา สรางองคความรูพื้นฐานของประเทศ มีประเด็นยุทธศาสตร
          ความสงบแหงชาติ (คสช.) และประธานสภานโยบายวิจัยและ 3 ประเด็น ดังนี้ (1) องคความรูพื้นฐานและเทคโนโลยีฐาน
          นวัตกรรมแหงชาติ ใหเกียรติเปนประธานการประชุม และ (2) องคความรูพื้นฐานทางสังคมและความเปนมนุษย และ
          พลอากาศเอก ประจิน จั่นตอง รองนายกรัฐมนตรี รองประธาน (3) การวิจัยเพื่อความเปนเลิศทางวิชาการ
          คนที่หนึ่ง นายสมคิด จาตุศรีพิทักษ รองนายกรัฐมนตรี         ยุทธศาสตรที่  4  การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
          รองประธานคนที่สอง นายสุวิทย เมษินทรีย รัฐมนตรีประจํา บุคลากร และระบบวิจัยและนวัตกรรมของประเทศ มีประเด็น
          สํานักนายกรัฐมนตรี พรอมดวยกรรมการในสภานโยบายวิจัย ยุทธศาสตร 7 ประเด็น ดังนี้ (1) การปรับระบบวิจัยและ
          และนวัตกรรมแหงชาติ เขารวมการประชุม               นวัตกรรมของประเทศ (2) บุคลากรและเครือขายการวิจัย
                 การประชุมในครั้งนี้ ไดมีการพิจารณาใหความเห็น (3) ระบบบริหารจัดการงานวิจัย (4) เขตเศรษฐกิจนวัตกรรม
          ตอระเบียบวาระที่สําคัญ สรุปประเด็นสําคัญ ดังนี้    (5) ระบบแรงจูงใจ (6) โครงสรางพื้นฐานคุณภาพแหงชาติ และ
                 1.  (ราง) ยุทธศาสตรการวิจัยและนวัตกรรม 20 ป  (7) โครงสรางพื้นฐานทางการวิจัย วิทยาศาสตร และเทคโนโลยี
          (พ.ศ. 2560 - 2579) ซึ่งไดกําหนดวิสัยทัศนไววา “ประเทศไทย เพื่อตอยอดอุตสาหกรรมการเกษตรและสุขภาพ
          ใชการวิจัยและนวัตกรรมเปนกําลังอํานาจแหงชาติ เพื่อกาว   โดยมีผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นภายใน  20  ป  คือ
          ไปสูประเทศที่พัฒนาแลวภายใน 20 ป ดวยความมั่นคง มั่งคั่ง  ประเทศไทยเปนประเทศที่พัฒนาแลว มีรายไดสูง เปนผูนํา

          ยั่งยืน” ประกอบดวย 4 ยุทธศาสตร ไดแก             นวัตกรรมในอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ เกษตรกรและวิสาหกิจ
                 ยุทธศาสตรที่ 1 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสราง ขนาดกลางและขนาดยอม (Small and Medium Enterprises:
          ความมั่งคั่งทางเศรษฐกิจ มีประเด็นยุทธศาสตร 5 ประเด็น  SMEs) มีความสามารถทางเทคโนโลยีเพิ่มขึ้น และวิสาหกิจ
          ดังนี้ (1) อาหาร เกษตร เทคโนโลยีชีวภาพและเทคโนโลยี เริ่มตน (Startup) ที่มีศักยภาพในการแขงขันกับตางประเทศ
          การแพทย (2) เศรษฐกิจดิจิทัลและขอมูล (3) ระบบโลจิสติกส  มีจํานวนเพิ่มขึ้น การลงทุนดานการวิจัยและพัฒนาเพิ่มขึ้น
          (4) การบริการมูลคาสูง และ (5) พลังงาน              เปนรอยละ 2.0 ของผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ (Gross
                 ยุทธศาสตรที่ 2 การวิจัยและนวัตกรรมเพื่อการ Domestic Product: GDP) สังคมมีความมั่นคงและมีภูมิคุมกัน
          พัฒนาสังคมและสิ่งแวดลอม มีประเด็นยุทธศาสตร 5 ประเด็น  และบรรลุเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน ความเหลื่อมลํ้าของ

         สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)                                               (อานตอหนา 12)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16