Page 8 -
P. 8

การจัดการแมลงศัตรูปศุสัตวโดยชีววิธี



                                                                           ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ
                                                                             สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)


                 การเกิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนทําใหเกิดการ แมลงศัตรูหลักในฟารมสุกร นอกจากนี้อาจมีแมลงวันหลังลาย
          แลกเปลี่ยนสินคาระหวางประเทศหลายชนิด รวมถึงอาหาร  Sacrophaga sp. และแมลงวันหัวเขียว Chrysomya
          การสงออกเนื้อ และผลิตภัณฑจากสัตว สุกร เปนหนึ่งในสัตว megacephala แตพบในปริมาณนอยมาก เดิมเกษตรกร
          เศรษฐกิจที่ประชาชนในภูมิภาคอาเซียนนิยมนํามาบริโภค  ใชสารฆาแมลงในการปองกันกําจัดแมลงวันบาน ไดแก
          และสรางมูลคาทางเศรษฐกิจ ปจจุบันปริมาณความตองการ cyromazine, 2,2-dichlorovinyl dimethyl เปนตน พบวา

          ของเนื้อสุกรมีการเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เพื่อตอบสนองตอ มีรายงานการตานทานตอสารฆาแมลงในกลุม phosphate,
          คานิยมการบริโภค ในป 2558 มีรายงานการผลิตสุกรภายใน permethrin และ dichlorvos ของแมลงวันบานในหลาย
          ประเทศไทยมากถึง 9.8 ลานตัวตอป มีรายงานผูเลี้ยงสุกร พื้นที่ นอกจากนี้การใชสารฆาแมลงยังทําใหเกิดอันตรายตอ
          ทั่วประเทศ จํานวน 191,289 ครัวเรือน ในจํานวนนี้เปน มนุษยและสัตวเลี้ยง
          เกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือถึง 90,384 ราย ในอดีต        ศูนยวิจัยควบคุมศัตรูพืชโดยชีวินทรียแหงชาติ ภาค
          จนถึงปจจุบัน ประเทศไทยมีการเลี้ยงสุกรพื้นเมืองแบบดั้งเดิม  ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน มหาวิทยาลัยขอนแกน โดย
          รวมกับการเพาะปลูกพืชกระจายอยูในชนบท โดยเกษตรกร รองศาสตราจารย ดร.นุชรีย ศิริ ผูอํานวยการศูนยฯ และคณะ

          จะเลี้ยงเพียงสองหรือสามตัวและจะใชวิธีผูกสุกรไวใตถุนบาน นักวิจัยของศูนยฯ พบศัตรูธรรมชาติของแมลงวันบาน ไดแก
          เพื่อปองกันหาย บางรายปลอยใหสุกรหากินเอง หรือกั้นคอก แมลงหางหนีบ Labidura riparia แตนเบียนดักแด Pachycre-
          อยางงาย ๆ เนื่องจากมีเปาหมายหลักคือ เลี้ยงไวบริโภคใน poideus vindemiae แตนเบียนดักแด Spalangia endius
          ครัวเรือนและขาย การเลี้ยงสุกรในลักษณะดังกลาว มักเกิด และไสเดือนฝอยศัตรูแมลง Steinernema siamkayai
          ปญหาดานสาธารณสุข ไดแก กลิ่น และแมลง ในครัวเรือน  จึงไดทดสอบประสิทธิภาพการกินหนอนแมลงวันบานของ
          โดยเฉพาะแมลงวันบาน ในทางปศุสัตวถึงแมจะไมมีรายงาน แมลงหางหนีบ L. riparia พบวา แมลงหางหนีบ L. liparia 1 คู
          การนําโรคที่เกิดจากแมลงวันบานโดยตรง แตมีรายงานการ สามารถกินหนอนแมลงวันบานได 32.5 ตัว/วัน ดังนั้นแมลง
          ทําใหเกิดโรคทางเดินอาหารในผูเลี้ยง และมีเชื้อโรคปนเปอน หางหนีบ L. liparia จึงมีประสิทธิภาพในการปองกันกําจัด
          ในอาหารเลี้ยงสัตว การที่มีแมลงวันบานจํานวนมากทําใหเกิด แมลงวันบานในฟารมสุกร จึงไดศึกษาเพิ่มเติมถึงระดับความลึก

          ความรําคาญและความเครียดในสัตว สงผลตอปริมาณผลผลิต ที่แมลงหางหนีบสามารถเขาทําลายแมลงวันบานในมูลโค
          ในทางเศรษฐกิจ นอกจากนี้ยังอาจกอใหเกิดเชื้อโรคปนเปอนใน เพื่อเปนขอมูลสําคัญในการหาวิธีปองกันกําจัดแมลงวันบาน
          อาหารสัตว และผลิตภัณฑจากเนื้อสัตว จากการสํารวจแมลง อยางมีประสิทธิภาพตอไป
          ในฟารมสุกรพบวา แมลงวันบาน Musca domestica เปน





























                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13