Page 5 -
P. 5
นวัตกรรม “เคร�่องมือตรวจสอบ
ความหอมของขาวแบบพกพา”
ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี กองวิจัยและพัฒนาขาว
กรมการขาว
“ขาวหอมมะลิ” เปนขาวที่มีชื่อเสียงทั้งในประเทศ ตาง ๆ จากคุณสมบัติดังกลาวนี้ ทําใหสามารถประยุกตใช
และตางประเทศ เนื่องจากเปนขาวที่มีลักษณะเปนขาวสุกจะ เทคโนโลยีดังกลาวในการตรวจสอบความหอมของขาวไดอยาง
นุมเหนียว และที่สําคัญมีกลิ่นหอม สารสําคัญในการใหกลิ่น มีประสิทธิภาพ
หอมของขาวหอมมะลิคือสาร 2-Acetyl-1-pyrroline (2AP) ศูนยวิจัยขาวปทุมธานี กรมการขาว และศูนย
สารชนิดนี้ คือสารเดียวกันกับที่พบในใบเตย และดอกชมนาด เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอรแหงชาติ ไดพัฒนา
ในการตรวจวัดความหอมของขาวโดยทั่วไปใชเครื่องมือที่ เครื่องมือตรวจสอบความหอมของขาวแบบพกพา โดยใช
เรียกวา Gas Chromatography (GC) ซึ่งตองทําในหอง หลักการเดียวกันกับเครื่องจมูกอิเล็กทรอนิกส เพื่อใชตรวจสอบ
ปฏิบัติการ เปนเรื่องที่ยุงยากและไมสะดวก บางครั้งตองอาศัย ความหอมของขาวในพื้นที่ตาง ๆ หรือในภาคสนาม โครงสราง
การดมกลิ่นโดยผูเชี่ยวชาญ ซึ่งในปจจุบันมีผูเชี่ยวชาญที่มีความ ของเครื่องตรวจสอบความหอมแบบพกพาประกอบไปดวย
สามารถในการจําแนกกลิ่นของขาวหอมไดมีเพียงไมกี่คนใน เซนเซอรที่ถูกติดตั้งเปนแถวเปนแนวสําหรับตรวจวัดกาซ
ประเทศ และการดมกลิ่นยังมีขอจํากัด ขึ้นอยูกับปจจัยในการ ทั้งหมด 8 ชุด เพื่อใชตรวจสอบองคประกอบของแกสตาง ๆ
ทํางานหลายอยาง เชน อารมณ สภาพแวดลอม และสุขภาพ และยังสามารถวัดความชื้นและอุณหภูมิของสภาพแวดลอม
ของผูดม จึงมีความจําเปนที่จะตองมีเครื่องมือที่แมนยํามา ภายนอกได จากนั้นเครื่องจะนําขอมูลที่ไดรับจากโปรแกรม
ทดแทนมนุษย ซึ่งจมูกอิเล็กทรอนิกสในโครงการนี้จะทําหนาที่ Smart E - Nose ในการทดสอบ มาวิเคราะหประมวลผล
แทนจมูกมนุษยในการจําแนกกลิ่นของขาวหอมพันธุตาง ๆ ดวยโปรแกรม Hom - Khao เพื่อจําแนกกลิ่นที่ตางกัน และ
ซึ่งเปนประโยชนตอโครงการปรับปรุงพันธุขาวทําใหสามารถ ระดับความหอม
คัดเลือกลักษณะกลิ่น ความหอมไดรวดเร็ว ขอมูลที่ไดจากการวิเคราะหดวยโปรแกรม Hom -
จมูกอิเล็กทรอนิกส (Electronic Nose) เปนเครื่องมือ Khao แสดงการจําแนกกลิ่น และระดับความหอมของขาว
ที่มีความสามารถในการวิเคราะหกลิ่นเลียนแบบจมูก พบวาสามารถจําแนกและบอกระดับความหอมของขาว ซึ่งมีการ
ของมนุษย โดยโครงสรางของเครื่องมือชนิดนี้ประกอบ แบงระดับความหอมของขาวออกเปน 10 ระดับ ชวงความ
ไปดวยอาเรยของเซนเซอรตรวจวัดทางเคมี จะทําหนาที่ เขมขน ตั้งแต 0.00 - 10.00 ppm โดยเปรียบเทียบกับคาปริมาณ
ตรวจสอบองคประกอบของแกสตาง ๆ และนําขอมูลที่ไดรับ สาร 2AP ที่ไดจากการวิเคราะหดวยเครื่อง GC ใหความแมนยํา
ทั้งหมดมาวิเคราะหผลรวมกัน เพื่อจําแนกแยกแยะกลิ่น ในการทดสอบมากกวารอยละ 85
(อานตอหนา 6)
สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 5