Page 12 - วช
P. 12

รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีลงพื้นที่มอบนโยบายและ


                    ติดตามเยี่ยมพื้นที่เกี่ยวกับการขับเคลื่อนพื้นที่เกษตรอินทรีย



                                               ดร.กอบศักดิ์ ภูตระกูล รัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ลงพื้นที่กํากับ
                                        ติดตามการปฏิบัติราชการ ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ 13 กลุมจังหวัดภาคตะวันออก
                                        เฉียงเหนือตอนลาง ไดแก ศรีสะเกษ ยโสธร อํานาจเจริญ และอุบลราชธานี ระหวาง
                                        วันที่ 6 - 7 กรกฎาคม 2561 เพื่อมอบนโยบายและติดตามเยี่ยมพื้นที่เกี่ยวกับการขับเคลื่อน
                                        พื้นที่เกษตรอินทรีย การพัฒนาแปรรูปผลิตภัณฑเกษตรเพื่อเพิ่มมูลคา การสงเสริมแหลง
                                        ปลูกพืชสมุนไพรคุณภาพสูงและศูนยแพทยแผนไทย และพื้นที่เกษตรตนแบบ ในการนี้
                                        สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) โดย ดร.วิภารัตน  ดีออง รองเลขาธิการ

                                        คณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ไดรวมติดตามคณะรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี
                                        ลงพื้นที่ เพื่อรับมอบนโยบายในการนําการวิจัยและนวัตกรรม รวมเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                                        ภาคการเกษตร การแปรรูปผลิตภัณฑและการสงเสริมขยายผลดานเกษตรอินทรีย


















              วช. นํานักวิจัยรุนเยาวศึกษาดูงานหลังการประชุมผูไดรับรางวัลโนเบล


                        ณ เมืองลินเดา (The Post – Lindau - Tour 2018)



                 สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) นํา สําหรับเครื่องชวยฟงและการฝงประสาทหูเทียม 2) Max
          นักวิจัยไทยรุนเยาว (ดร.จีราพร ลีลาวัฒนชัย) จากศูนย Delbrück Center for Molecular Medicine เปนศูนยวิจัย
          นาโนเทคโนโลยีแหงชาติ สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและ ที่เชี่ยวชาญดานโมเลกุลและไดรับการจัดอันดับในรายการ
          เทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) สาขาสรีรวิทยาหรือแพทยศาสตร  Thomson Reuters ใหเปนอันดับที่ 14 จาก 20 สถาบันการวิจัย
          เขารวมโครงการศึกษาดูงานหลังการประชุมผูไดรับรางวัลโนเบล  ที่ดีที่สุดของโลกดานอณูชีววิทยาและพันธุศาสตร (Genetics)
          ณ เมืองลินเดา ประจําป 2561 (The Post Lindau Tour  3) Max Plank Institute for infection Biology เปน

          2018) ซึ่งเปนโครงการภายใตกรอบความรวมมือไทย - เยอรมัน  สถาบันวิจัยที่เนนการติดเชื้อแบคทีเรียที่เปนสาเหตุของมะเร็ง
          (NRCT - DFG) รวมกับนักวิจัยอินเดียรุนเยาว จํานวน 31 ราย  ในคน เปนตน นอกจากนี้ คณะนักวิจัยไทย - อินเดียรุนเยาวไดมี
          ณ สหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี ระหวางวันที่ 30 มิถุนายน - 7  โอกาสรับฟงการบรรยายการสนับสนุนทุนวิจัยของเยอรมันจาก
          กรกฎาคม 2561 โครงการดังกลาวสงเสริมและมุงเนนพัฒนา หนวยงานสนับสนุนทุนวิจัย เชน DFG, DAAD และ AvH
          นักวิจัยไทยรุนเยาวใหมีโอกาสพบปะ/หารือรวมกับนักวิจัย
          เยอรมัน รับฟงการบรรยายเกี่ยวกับงานวิจัยที่โดดเดนของ
          แตละหนวยงาน/สถาบัน และเยี่ยมชมหองปฏิบัติการของ
          สถาบัน/ศูนยวิจัยชั้นนําของสหพันธสาธารณรัฐเยอรมนี เชน
          1) Hannover Medical School (MHH) : โครงการ Hearing4all

          เปนการวิจัยเกี่ยวกับการไดยินของมนุษยไมวาจะเปนการไดยิน
          ปกติหรือบกพรองทางการไดยิน โดยพัฒนาแนวคิดนวัตกรรม

                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         12                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16