Page 4 -
P. 4

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล


                 โค                                                  และจากการที่สภาพอากาศในหลายพื้นที่มีการ
                 โครงการประเทศไทยไรหมอกควัน (HAZE FREE รงการประเทศไทยไรหมอกควัน (HAZE FREE
          THAILAND) เปนการขยายผลการดําเนินงานวิจัยและกิจกรรม  ถายเทนอย มีฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
          ตอจากป 2559 โดยมีโครงการยอยประกอบดวย โครงการ    เกินมาตรฐาน ซึ่งสงผลกระทบตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม
          การปรับเปลี่ยนการใชที่ดินและการออกแบบหวงโซอุปทาน  สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.) จึงสนับสนุนให
          ทางการเกษตรเพื่อลดการเกิดหมอกควัน โครงการการติดตาม  ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเชียงใหมพัฒนาเครื่องตรวจวัดปริมาณฝุน

          และประเมินภาวะหมอกควันเพื่อการบริหารจัดการ โครงการ  PM10 และ PM2.5 เรียกวา “DustBoy” โดยสามารถติดตาม
          การอนุรักษและการเพิ่มพื้นที่ปาดวยการบูรณาการเกษตร  ขอมูลขาวสารผานชองทาง https://www.cmuccdc.org
          เชิงวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่น โครงการ Climate Chang   และ https://www.facebook.com/cmu.ccdc เพื่อให
          การพัฒนาเครื่องมือชวยตัดสินใจในการกําหนดนโยบายและ  ชุมชนตระหนักถึงอันตรายจากฝุนละออง สามารถเฝาระวัง

          กลไกเชิงพื้นที่ลดสาเหตุหมอกควันในภาคเหนือ และโครงการ   และปฏิบัติตัวอยางถูกตองในการสวมหนากากปองกัน
          Climate Change ตนแบบการปศุสัตวเพื่อสงเสริมอาชีพ  ฝุนละออง รวมทั้งหลีกเลี่ยงการทํากิจกรรมนอกอาคารเปน
          แกเกษตรกรเพื่อแกไขปญหาการเผาปาและพื้นที่การเกษตร   เวลานานเมื่อคาฝุนละอองขนาดไมเกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)
          อันสงผลใหเกิดปญหาหมอกควันและผลกระทบจากการ        เกินมาตรฐาน ซึ่งจะชวยลดการสูญเสียและเจ็บปวยทางดาน

          เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ซึ่งแตละโครงการเนนการสราง  สุขภาพของชุมชนได ปจจุบันมีการทดสอบติดตั้งทั่วประเทศ
          ความเขมแข็งใหกับเครือขายเกษตรกรที่เขารวมโครงการ เพื่อ  38 สถานี และอยูในกรุงเทพ 3 จุด ซึ่งใหคาผลการวัดได
          ลดปญหาหมอกควันอยางเปนรูปธรรมใหมากขึ้นในพื้นที่อําเภอ  ใกลเคียงกับเครื่องตรวจวัดของกรมควบคุมมลพิษ
          แมแจม จังหวัดเชียงใหม และจังหวัดนาน ดวยการจัดทําแผน

          การบริหารจัดการบริโภคในระดับครัวเรือน ลดปญหาหนี้สิน
          โดยปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการประกอบอาชีพใหเกษตรกร
          มีอาชีพทางเลือกมากขึ้น และการติดตามประเมินภาวะ
          หมอกควันเพื่อการบริหารจัดการโดยอาศัยองคความรูทางดาน

          วิทยาศาสตรเพื่อทําความเขาใจกับการเกิดมลพิษทางอากาศ
          และพัฒนาเครื่องมือชวยตัดสินใจในการกําหนดนโยบายและ
          กลไกเชิงพื้นที่เพื่อลดสาเหตุหมอกควันในภาคเหนือ ดวยการ
          ศึกษาบริบทของพื้นที่ที่มีผลกระทบทางเศรษฐศาสตรจาก

          ปญหาการเผาไหม



































                                                                                    สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          4                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9