Page 13 -
P. 13
กิจกรรม วช.
การเสวนาอารยธรรมเอเชีย
(Conference on Dialogue of Asian Civilizations: CDAC)
“การแลกเปลี่ยนและเรียนรูอารยธรรมเอเชีย และประชาคมที่มีอนาคตรวมกัน”
ณ สาธารณรัฐประชาชนจีน
ศาสตราจารย นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล
ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ กระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดรับเชิญ
บรรยายในการประชุมเสวนาฯ และกลาววา “วัฒนธรรมและ
อารยธรรมจากอินเดียและจีนมีบทบาทสําคัญและไดแลกเปลี่ยน
กับภูมิภาคเอเชียมานานนับพันปแลว สําหรับประเทศในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใตโดยเฉพาะประเทศไทยมีการเรียนรูและ
พัฒนาทางวัฒนธรรมอันยิ่งใหญจากทั้งอินเดียและจีน จาก
นายสี จิ้นผิง การเชื่อมโยงทางบกและทางทะเล ตัวอยางอิทธิพลทาง
ประธานาธิบดี สาธารณรัฐประชาชนจีน วัฒนธรรมของอินเดียที่มีตอไทย เชน มหากาพยอินเดีย เรื่อง
การประชุมเสวนาอารยธรรมเอเชีย (Conference on ุมเสวนาอารยธรรมเอเชีย (Conference on รามเกียรติ์ และศาสนาพุทธจากอินเดีย ซึ่งมีบทบาทสําคัญ
การประช
Dialogue of Asian Civilizations: CDAC) ในหัวขอ “การแลกเปลี่ยน อยางสูงในวัฒนธรรมและสังคมไทยในปจจุบัน สําหรับจีนก็มี
และเรียนรูอารยธรรมเอเชีย และประชาคมที่มีอนาคตรวมกัน การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมอันใกลชิดกับไทยมาเปนเวลา
(Mutual exchanges of Asian civilizations and a นานเชนกัน เชน ในสมัยสุโขทัย การผลิตเครื่องลายคราม
community of shared future for mankind)” ระหวาง ซึ่งชางฝมือไทยไดเรียนรูและพัฒนาเทคนิคการเคลือบลายคราม
วันที่ 15 – 16 พฤษภาคม 2562 ณ กรุงปกกิ่ง สาธารณรัฐ จากจีนจนกลายมาเปนเครื่องปนดินเผาสังคโลก และตอมา
ประชาชนจีน โดย ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง แหงสาธารณรัฐ เปนเครื่องเบญจรงคในแบบของไทย รวมถึงบทบาทของ
ประชาชนจีน เปนประธานในพิธีเปดงานและกลาวสุนทรพจน ชาวจีนโพนทะเลในการเปนสะพานเชื่อมโยงมิตรภาพระหวาง
วา “ความสําคัญของอารยธรรมเอเชียซึ่งเปนหนึ่งในแหลง สองประเทศ วัฒนธรรมจีนไดผสมผสานกลมกลืนกับสังคมไทย
กําเนิดอารยธรรมที่เกาแกที่สุดของมนุษยชาติและเปนแหลง ดังจะเห็นไดจากการแพทยแผนโบราณ ศิลปะการตอสู
อารยธรรมที่สําคัญในการพัฒนาของเอเชีย ซึ่งปจจุบันจีน วรรณกรรม (สามกก) และอาหารหลากหลายประเภท
ไดริเริ่มโครงการ “หนึ่งแถบหนึ่งเสนทาง” เพื่อสงเสริมและ (เปดปกกิ่ง, บะหมี่, ติ่มซํา, ซาลาเปา) และการเฉลิมฉลอง
ขยายการแลกเปลี่ยนดานอารยธรรมในเอเชีย และเติมความ เทศกาลตรุษจีนกันอยางแพรหลายทั้งในประเทศไทยและจีน”
สมบูรณเพิ่มความหลากหลายใหกับอารยธรรมโลกดวย” ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (ศ.นพ.สิริฤกษฯ) ยังได
ประธานาธิบดี สี จิ้นผิง ขอใหประเทศตาง ๆ และวัฒนธรรม กลาวตอในฐานะแพทยวา “การแลกเปลี่ยนเรียนรูดานการ
ตาง ๆ สงเสริมการแลกเปลี่ยนและเรียนรูตอกันเพื่อความมั่นคง แพทยแผนเอเชีย โดยเฉพาะการแพทยแผนจีนและอินเดีย
ของมนุษยศาสตรและรวมสรางสรรคประชาคมเอเชียและ ถือวามีความสําคัญ โดยประเทศไทยไดรับประโยชนจากการ
ประชาคมโลกที่มีอนาคตรวมกัน โดยมี ประมุข ผูนําประเทศ เรียนรูแพทยแผนโบราณจากทั้งสองประเทศ และมีการพัฒนา
และนักวิชาการจาก 47 ประเทศทั่วโลก รวมถึงผูบริหารองคกร ศาสตรการแพทยแผนไทยตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน นอกจากนี้
หลายพันคนจากประเทศตาง ๆ อาทิ องคการยูเนสโก และ การแลกเปลี่ยนทางวัฒนธรรมผานการทองเที่ยว ยังกอใหเกิด
องคกรระหวางประเทศเขารวมการประชุมดังกลาว ซึ่งเปนการ ความเชื่อมโยงระหวางประชาชนและชวยขับเคลื่อน
ประชุมใหญเพื่อสงเสริมใหเกิดการพัฒนาอารยธรรมของมนุษย ความเจริญทางดานเศรษฐกิจและสงเสริมความเขาใจอันดี
และมีสวนรวมในการสรางชุมชนที่มีอนาคตรวมกัน รวมถึงการ ระหวางประเทศ จากการที่ประเทศไทยเปนสถานที่ทองเที่ยว
สงเสริมการแลกเปลี่ยนและความเขาใจรวมกัน เพื่อปกปอง ยอดนิยมของจีน อินเดีย และทั่วโลก ทําใหเกิดประโยชนใน
ความหลากหลายทางวัฒนธรรม ดานเศรษฐกิจและนักทองเที่ยวไดรับความเขาใจที่ดีเกี่ยวกับ
วัฒนธรรมไทยและวิถีชีวิตของคนไทย”
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) (อานตอหนา 8)
National Research Council of Thailand (NRCT) 13