Page 10 -
P. 10

กิจกรรม วช.


                                 การเสวนา
                                 การเสวนา
                                 การเสวนา
                                 การเสวนา
                                 การเสวนา “การขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติและปฏิรูปประเทศ
                                     ดานการจัดการมลพิษทางอากาศ PM 2.5 ทั้งระบบ”



                                  พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ  ปฏิรูปประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ไดให
                                  พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ
                                      รองนายกรัฐมนตรี       ความสําคัญกับปญหาฝุนละอองเปนอยางมาก ซึ่งคณะกรรมการ
                                   ประธานกลาวเปดการเสวนา
                                   ประธานกลาวเปดการเสวนา  จัดทํายุทธศาสตรชาติดานการสรางการเติบโตบนคุณภาพ
                                                            ชีวิตที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม จึงไดรวมกับคณะปฏิรูปดาน

                 สืบเนื่องจากในชวงเดือนมกราคม 2562 ที่ผานมา   ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม อาศรมความคิดดานระบบ
         ไดเกิดปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก PM 2.5 สูงเกินคามาตรฐาน   โลกศาสตรและวิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม ราชบัณฑิตยสภา และ
         บริเวณกรุงเทพมหานคร และจังหวัดใกลเคียงอยางนอย   สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ มีความเห็นรวมกันในการ
         12 จังหวัด ไดแก นครปฐม ราชบุรี นนทบุรี ปทุมธานี   จัดการเสวนา เรื่อง “การขับเคลื่อนยุทธศาสตรชาติ และปฏิรูป
         สมุทรสาคร สมุทรปราการ ฉะเชิงเทรา ชลบุรี ระยอง      ประเทศดานการจัดการมลพิษทางอากาศ PM 2.5 ทั้งระบบ”

         พระนครศรีอยุธยา อางทอง และปราจีนบุรี สงผลกระทบตอ  เมื่อวันที่ 26 เมษายน พ.ศ. 2562 ณ หองประชุมศรีสุริยวงศ
         สุขภาพของประชาชน เศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม     บอลรูมเอ ชั้น 11 โรงแรมตะวันนา สุรวงศ กรุงเทพมหานคร โดยมี
         รวมถึงกระทบตอการดําเนินชีวิตของประชาชนเปนวงกวาง  พลเอก ประวิตร วงษสุวรรณ รองนายกรัฐมนตรี เปนประธาน
         มากกวา 20 ลานคน ทําใหทุกภาคสวนและรัฐบาลตื่นตัว  เปดการเสวนา โดยมีผูเขารวมการเสวนาจากทุกภาคสวนตาง ๆ
         รวมกันหาแนวทางลดผลกระทบและปองกันปญหาเหลานี้    ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และนักวิชาการ รวมทั้งสิ้นประมาณ 250 คน
         ในอนาคต จริง ๆ แลวปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก PM 2.5           การเสวนาดังกลาวไดขอสรุปรวมกันในการปฏิรูประบบ

         ในประเทศไทยไมใชเพิ่งจะเกิดขึ้น ซึ่งจากขอมูลพบวา เคยเกิดขึ้น  การจัดการมลพิษทางอากาศของประเทศ และหาแนวทางที่
         เปนประจําทุกป เชน คาที่ตรวจวัดไดโดยกรมควบคุมมลพิษ   เหมาะสมในการศึกษาวิจัย คนควาหากลไก เฝาตรวจติดตาม
         ในกรุงเทพมหานครมีคา PM 2.5 สูงถึง 112 ไมโครกรัม   และเฝาระวังปญหามลพิษทางอากาศทั้งระบบ รวมถึงการติดตั้ง
         ตอลูกบาศกเมตรใน พ.ศ. 2556 แตคาที่เคยตรวจวัดได  ระบบเตือนภัยลวงหนา (Eary Warning System) เพื่อแจงเตือน
         สูงถึง 222 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร ในบริเวณริมถนน  ประชาชนและสังคมลวงหนากอนภัยจะมา พรอมทั้งมีแผน

         หนามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร บางเขน กรุงเทพมหานคร    รับมือปรับตัวตอพิบัติภัยมลพิษทางอากาศทั้งระบบ เพื่อลด
         ในเดือนมกราคม 2562 หรือ มีคามากกวา 300% ของ      ผลกระทบทางลบตอสุขภาพ สิ่งแวดลอม สังคม และเศรษฐกิจ
         คามาตรฐานประเทศ ที่ไมเกิน 50 ไมโครกรัมตอลูกบาศกเมตร   ทั้งระบบ และนําผลที่ไดจากการเสวนาเสนอตอรัฐบาล โดยให
         ในอดีตปญหามลพิษทางอากาศมักเปนขาวซึ่งเปนที่     มีแผนแมบทแกไขปญหาที่เปนรูปธรรมในระยะยาว โดยเฉพาะ
         รับรูของประชาชนโดยจะเกิดขึ้นในชวงฤดูหนาวตอจาก   มาตรการปองกันและลดมลพิษฝุน PM 2.5 ของประเทศตั้งแต
         ฤดูรอนเปนประจําทุกป โดยเฉพาะทางบริเวณภาคเหนือ   แหลงตนกําเนิดในทุกมิติและทุกภาคสวน เชน ภาคการขนสง

         ของประเทศไทย ซึ่งมีสาเหตุหลักจากการเผาชีวมวลเกษตร  และคมนาคม ภาคอุตสาหกรรม ภาคเกษตรกรรม ภาคครัวเรือน
         ในประเทศและในประเทศเพื่อนบานเปนประจําทุกป อยางไร  และการแกปญหาฝุนขามพรมแดน ซึ่งเปนการปองกันและแกไข
         ก็ตามในแผนยุทธศาสตรชาติ 20 ป ดานการสรางการเติบโต  ปญหา PM 2.5 ในอนาคต จะเปนประโยชนสําหรับภาครัฐ ภาค
         บนคุณภาพชีวิตที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม และตามแผนการ  เอกชน และประชาชนตอไป


















                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         10                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15