Page 15 - nrct106
P. 15

กิจกรรม วช.



          38 มหาวิทยาลัยราชภัฏ สัมมนา“ทิศทางมหาวิทยาลัยราชภัฏสู่การขับเคลื่อนประเทศ”

             ร่วมกับคณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภา



                พลอากาศเอก  ประจิน  จั่นตอง  ประธานคณะ เครือข่ายครอบคลุมทุกภูมิภาค ในการขับเคลื่อนและยกระดับ
         กรรมาธิการการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม  คุณภาพบุคลากรและชุมชนด้วยวิจัยและนวัตกรรม  ทั้งนี้
         วุฒิสภา เป็นประธานเปิดการประชุมอธิการบดีมหาวิทยาลัย ดร.วิภารัตน์ ดีอ่อง รองผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ
         ราชภัฏทั่วประเทศ และการสัมมนา “ทิศทางมหาวิทยาลัย ในฐานะที่ปรึกษาในคณะอนุกรรมาธิการบูณาการแบบมีส่วนร่วม
         ราชภัฏสู่การขับเคลื่อนประเทศ”  เมื่อวันที่  15  มกราคม  และมุ่งผลสัมฤทธิ์  กมธ.การอุดมศึกษา  ฯ  วุฒิสภา  และ
         2563 ณ อาคาร 100 ปี มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์   นายสมปรารถนา สุขทวี รองผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ
         ในพระบรมราชูปถัมภ์                                   ในฐานะอนุกรรมาธิการในคณะอนุกรรมาธิการการอุดมศึกษา
                การสัมมนาดังกล่าว มีเป้าหมายเพื่อสร้างความเข้าใจ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม อธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
         ในบทบาทหน้าที่ของแต่ละกลุ่มมหาวิทยาลัย และกลไกการ  38  แห่ง  คณะกรรมาธิการการอุดมศึกษา  วิทยาศาสตร์
         น�าไปสู่ภาคปฏิบัติ เพื่อให้สอดคล้องกับทิศทางการพัฒนาประเทศ  วิจัยและนวัตกรรม วุฒิสภาและคณะอนุกรรมาธิการที่ปรึกษา
         ตามทิศทางยุทธศาสตร์ชาติและแผนการปฏิรูปของประเทศ  ภายใต้คณะกรรมาธิการ ฯ พร้อมด้วยผู้บริหารจากหน่วยงานภาค
         โดยใช้ศักยภาพและความเข้มแข็งของมหาวิทยาลัยราชภัฏที่มี   รัฐและภาคเอกชน ร่วมการสัมมนาดังกล่าว




















           วช. ร่วมหารือ เครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย




                 ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ร่วมกับ เครือข่าย
         พันธมิตรมหาวิทยาลัยเพื่อการวิจัย (Research University
         Network, RUN) จัดเวทีหารือร่วมกับผู้แทนมหาวิทยาลัยใน
         เครือข่าย ฯ เพื่อรับฟังการน�าเสนอร่างแนวคิดแผนงานวิจัยใน
         คลัสเตอร์ต่าง ๆ ได้แก่ คลัสเตอร์เกษตรและอาหาร คลัสเตอร์
         การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและภัยพิบัติ คลัสเตอร์อาเซียน
         คลัสเตอร์หุ่นยนต์ คลัสเตอร์วัสดุ คลัสเตอร์พลังงาน คลัสเตอร์ดิจิทัล   ทั้งนี้ วช. ได้ร่วมกับเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัย
         คลัสเตอร์สุขภาพ และคลัสเตอร์โลจิสติกส์ เมื่อวันที่ 27 มกราคม  เพื่อการวิจัย (Research University Network, RUN) ท�างาน
         2563 ที่ผ่านมา โดยมุ่งเน้นการสร้างความร่วมมือในการพัฒนา ร่วมกันในลักษณะของ consortium โดยมุ่งก�าหนดประเด็น
         แผนงานวิจัยขนาดใหญ่ ซึ่งมีผลกระทบ (Impact) สูง และสามารถ วิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาส�าคัญมาก ๆ ของประเทศ และพัฒนาเป็น
         ถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยี เพื่อส่งเสริมให้ระบบอุดมศึกษา แผนงานวิจัยขนาดใหญ่ โดยใช้ระยะเวลา 1 - 3 ปี ในการตอบ
         ของประเทศสามารถสร้างกลุ่มเครือข่ายพันธมิตรมหาวิทยาลัย เป้าหมายที่ก�าหนดไว้อย่างชัดเจนได้ ทั้งยังประสงค์ที่จะเห็นภาพ
         เพื่อการวิจัย และเป็นการยกระดับมาตรฐานมหาวิทยาลัยร่วมกัน   ฉายของการระดมสรรพก�าลังในการบูรณาการการท�างานวิจัย
         เพิ่มบทบาทส�าคัญในการวิจัย และพัฒนาองค์ความรู้ นวัตกรรม  โดยดึงภาคส่วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ ภาคเอกชน ภาคอุตสาหกรรม
         เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และขีดความสามารถในการแข่งขัน ภาคผู้ใช้ประโยชน์ต่าง ๆ เข้ามาร่วมตั้งแต่ต้นทาง ไปจนถึง

         ของประเทศสู่การเป็นศูนย์กลางทางการศึกษา และวิจัยในระดับ ปลายทางเพื่อบรรลุ key target ร่วมกัน
         ภูมิภาค
         สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16