Page 16 - nrct106
P. 16
กิจกรรม วช.
เปิดตัวระบบบริหารจัดการปัญหาฝุ่นควัน “AirCMI”
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ 2. แอปพลิเคชันมือถือ (Mobile
(วช.) ร่วมกับจังหวัดเชียงใหม่ ส�านักงาน Application) : เพื่อสร้างการรับรู้ และ
ขับเคลื่อนการปฏิรูปประเทศ ยุทธศาสตร์ ความเข้าใจแก่ประชาชนในพื้นที่ให้ทราบ
ชาติ และการสร้างความสามัคคีปรองดอง แนวทางปฏิบัติเพื่อป้องกันสุขภาพจาก
การควบคุมมลพิษ กรมอุตุนิยมวิทยา ภาวะคุณภาพอากาศย�่าแย่ และตระหนักถึง
ส�านักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศ ปัญหาฝุ่นควันในพื้นที่ ประกอบด้วยข้อมูล
และภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) ดังนี้ อัพเดทค่าความเข้มข้นของฝุ่นละออง
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ กรมอนามัย และ PM2.5 ทุก 1 ชั่วโมง, สามารถเลือกระดับ
กรมประชาสัมพันธ์ น�าเสนอผลการด�าเนิน ความเสี่ยงของแต่ละบุคคลได้, สามารถ
งานโครงการป้องกันและบรรเทาปัญหา รับสารจากผู้ว่าราชการจังหวัด และข่าว
ฝุ่นควันน�าร่องในพื้นที่ภาคเหนือ จังหวัด ประชาสัมพันธ์จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง,
เชียงใหม่ ต่อนายกรัฐมนตรีและคณะ สามารถค้นหาพื้นที่อากาศดีของจังหวัด
รัฐมนตรี เมื่อวันที่ 14 มกราคม 2563 ที่ เชียงใหม่ และสามารถแจ้งเหตุปัญหา
ผ่านมา ณ ตึกบัญชาการ 1 ท�าเนียบรัฐบาล มลพิษทางอากาศ
โดยเปิดตัวระบบบริหารจัดการปัญหาฝุ่น 3. คิวอาร์โค้ด (QR code) : เพื่อ
ควันและแอปพลิเคชัน (AirCMI) ซึ่งเป็น สร้างการรับรู้แก่นักท่องเที่ยวที่มาเยือน
การบูรณาการข้อมูลร่วมกันระหว่างหน่วย จังหวัดเชียงใหม่ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
งานที่เกี่ยวข้องเพื่อสนับสนุนการท�างานของจังหวัดเชียงใหม่ในการบริหาร โดยที่ไมต้องดาวน์โหลดแอปพลิเคชัน แสดงค่าความเข้มข้นของฝุ่นละออง
จัดการและควบคุมสถานการณ์ปัญหามลพิษทางอากาศ มุ่งสร้างการรับรู้ PM2.5 จากเครื่องวัดคุณภาพอากาศที่ใกล้ที่สุดมากกว่า 200 จุดในจังหวัด
ให้แก่ประชาชน เพื่อเป็นต้นแบบการใช้ระบบสารสนเทศในการบริหารจัดการ เชียงใหม่
ปัญหาฝุ่นควันอย่างมีประสิทธิภาพให้ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศต่อไป ในโปรแกรม AirCMI บนระบบปฏิบัติการ Android และ
ระบบบริหารจัดการปัญหาฝุ่นควัน (AirCMI) ประกอบด้วย 3 QR code เปิดให้ชาวเชียงใหม่ และนักท่องเที่ยวได้ใช้บริการแล้ว โดยภายใน
รูปแบบ ได้แก่ เดือนกุมภาพันธ์นี้จะให้เปิดบริการโปรแกรม AirCMI บนระบบปฏิบัติการ
1. การบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จ (Single Command) : เพื่อ iOS เป็นล�าดับถัดไป ทั้งนี้ ส�าหรับศูนย์ข้อมูลกลาง (Open Data Centre)
สนับสนุนการตัดสินใจสั่งการของผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ และสนับสนุน เป็นช่องทางที่เปิดให้นักพัฒนาเครื่องตรวจวัดคุณภาพอากาศ และ
การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ ประกอบด้วยข้อมูล ดังนี้ ค่าความเข้มข้นของ นักวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพอากาศสามารถใช้ข้อมูลได้ตลอดเวลาผ่านบริการ
ฝุ่นละออง PM2.5 และค่าดัชนีคุณภาพอากาศ (AQI) อัพเดททุก 1 ชั่วโมง, Open Data Service เพื่อส่งเสริมการคิดค้นนวัตกรรมใหม่ในการพัฒนา
ข้อมูลสภาพอากาศ 6 ตัวแปร, การคาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นควันล่วงหน้า คุณภาพชีวิตของประชาชนต่อไป
3 วัน, ข้อมูล Hotspots จาก GISTDA, แผนที่ทิศทางลม และการวิเคราะห์
หา Hotspots เป้าหมาย
วช. ระดมผลงานวิจัยฝ่าวิกฤตฝุ่นพิษ เสนอ 7 มาตรการ ผลักดันแก้ปัญหาฝุ่นควัน
เพื่อเสนอแนะแนวทาง ทบทวน
ผลงานวิจัย เพื่อจัดการปัญหาฝุ่น
PM2.5 และแถลงข่าวเรื่อง “ฝ่าวิกฤต
ฝุ่นพิษ! อว. ระดมผลงานวิจัย หนุน
7 มาตรการ ผลักดันแก้ปัญหาฝุ่นควัน”
เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2563
ณ ส�านักงานปลัดกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและ
นวัตกรรม (ถนนศรีอยุธยา) โดยมี
มลพิษทางอากาศของประเทศไทยก�าลังเป็นปัญหาที่มีความ ดร.สุวิทย์ เมษินทรีย์ รัฐมนตรี
ส�าคัญระดับชาติ และสถานการณ์ฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 2.5 ไมครอน ว่าการกระทรวงการอุดมศึกษา
หรือ PM2.5 ในพื้นที่กรุงเทพมหานคร ปริมณฑล และภูมิภาคต่าง ๆ วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
ของประเทศไทย ได้ทวีความรุนแรงขึ้นอยู่ในระดับที่เริ่มมีผลกระทบต่อ เป็นประธานในการประชุมและ
สุขภาพของประชาชนและต่อสิ่งแวดล้อม รวมถึงส่งผลกระทบเชิงลบในภาค แถลงข่าว ทั้งนี้ วช. ได้ท�าการศึกษา
ธุรกิจการท่องเที่ยวและเศรษฐกิจของประเทศ โดยร่วมกับเครือข่ายนักวิจัยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง วิเคราะห์ปัญหา
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ฝุ่นละออง PM2.5 เกินมาตรฐาน และพร้อมหนุน 7 มาตราการเผชิญเหตุ
โดย ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) จัดการประชุมหารือ “PM2.5 Forum” เร่งผลักดันการแก้ไขปัญหาฝุ่นควัน
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
16 National Research Council of Thailand (NRCT)