Page 13 - จดหมายข่าว วช 112
P. 13
ส�าหรับสิทธิในผลงานวิจัยเป็นการ
จัดสรรผลประโยชน์ระหว่างทั้งสองฝ่ายจาก
การน�าทรัพย์สินทางปัญญา ที่เกิดขึ้นจากการ
สนับสนุนทุน คปก. ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ รวม
ถึงการจัดสรรผลประโยชน์ระหว่างทั้งสองฝ่าย
จากการน�าทรัพย์สินทางปัญญาที่เกิดขึ้นจาก
การสนับสนุนทุนโครงการ Frontier Talents
Program (FTP) ไปใช้ในเชิงพาณิชย์ให้เป็น
ไปตามสัดส่วนการสนับสนุนทุนหรือตามที่ทั้ง
สองฝ่ายได้ตกลงร่วมกัน
วช. จัด Consortium
“การแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ของประเทศไทย”
ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) ได้รับมอบหมายจาก การประชุมดังกล่าว ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อร่วมกันพัฒนาโจทย์วิจัย
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เพื่อแก้ไขปัญหา PM2.5 ของประเทศอย่างเป็นระบบ พร้อมทั้ง
ให้บริหารจัดการทุนวิจัยและนวัตกรรมเพื่อตอบโจทย์ท้าทายของ หาแนวทางขับเคลื่อนงานวิจัยสู่หน่วยงานผู้ใช้ประโยชน์ อาทิ
สังคม และจัดการกับปัญหาท้าทายเร่งด่วนส�าคัญของประเทศ กรมควบคุมมลพิษ กรมป่าไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และ
ในเรื่องคุณภาพอากาศและฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน พันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(PM2.5) ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม ระบบนิเวศ สุขภาพของ กรมอุตุนิยมวิทยา กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค
ประชาชน และเศรษฐกิจของประเทศ โดยมุ่งให้เกิดผลสัมฤทธิ์ กอ.รมน. และกรมโรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น
ที่ส�าคัญ คือ จ�านวนวันที่มีปริมาณ PM2.5 เกินค่ามาตรฐาน ผลจากการประชุมท�าให้ได้ข้อสรุปโจทย์วิจัยโดยมุ่งเน้น
(50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ลดลง การศึกษาเชิงลึกด้านสังคมเกี่ยวกับพฤติกรรมของคน/ชุมชน
โดยเมื่อวันที่ 15 มิถุนายน 2563 วช. จึงได้จัด Consortium ในพื้นที่เผาที่เป็นสาเหตุของ PM2.5 การคาดการณ์การเกิดภาวะ
“การแก้ไขปัญหาฝุ่นละออง PM2.5 ของประเทศไทย” เพื่อระดม Inversion ที่มีผลต่อการกระจายตัวของฝุ่น PM2.5 การศึกษาแหล่ง
ความคิดเห็นจากหน่วยงานที่มีบทบาทส�าคัญในการแก้ปัญหา ก�าเนิดฝุ่น PM2.5 แบบทุติยภูมิจากปฏิกิริยาเคมีในบรรยากาศ
ฝุ่นละออง PM2.5 ร่วมกับคณะผู้ตรวจสอบทางวิชาการ โดยมี การสร้างความรับรู้ความเข้าใจผ่านช่องทางการสื่อสารต่าง ๆ เพื่อ
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล เลขาธิการ ให้เกิดความตระหนักรู้แต่ไม่ตระหนก รวมทั้งแนวทางการฟื้นฟู
คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ท�าหน้าที่ ผู้อ�านวยการส�านักงานการ ป่าดิบชื้น เป็นต้น
วิจัยแห่งชาติ กล่าวเปิดการประชุม และ ดร.วิจารย์
สิมาฉายา เป็นประธานการประชุม พร้อมด้วย
ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อักษรแก้ว เป็นที่ปรึกษา
ดร.วิจารย์ สิมาฉายา ศาสตราจารย์ ดร.สนิท อักษรแก้ว
ประธานการประชุม ที่ปรึกษาการประชุม
ศาสตราจารย์ ดร. นายแพทย์สิริฤกษ์ ทรงศิวิไล
เลขาธิการคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
ท�าหน้าที่ ผู้อ�านวยการส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ
กล่าวเปิดการประชุม
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 13