Page 9 - จดหมายข่าว วช 112
P. 9
รอบรู้งานวิจัย
จรรยาบรรณการด�าเนินการต่อสัตว์
เพื่องานทางวิทยาศาสตร์
ส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) ตระหนักถึงคุณค่ำ 3. การใช้สัตว์ป่า ผู้ใช้สัตว์ต้องปฏิบัติตามกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
และควำมส�ำคัญของงำนที่เกี่ยวข้องกับกำรเลี้ยงและใช้สัตว์เพื่อ โดยต้องใช้เฉพาะกรณีที่มีความจ�าเป็น และไม่สามารถ
งำนทำงวิทยำศำสตร์มำโดยตลอด นับแต่ปี พ.ศ. 2542 วช. ได้ ใช้สัตว์ประเภทอื่นทดแทนได้
ประกำศเผยแพร่จรรยำบรรณกำรใช้สัตว์เพื่องำนทำงวิทยำศำสตร์ 4. ผู้ใช้สัตว์ ผู้เลี้ยงสัตว์ ผู้ผลิตสัตว์ ผู้ก�ากับดูแลสถานที่
สภำวิจัยแห่งชำติ เพื่อให้นักวิจัย และผู้ที่เกี่ยวข้องได้ใช้เป็นหลัก ด�าเนินการ ผู้รับผิดชอบสถานที่ด�าเนินการ คณะกรรมการ
ปฏิบัติเพื่อให้มีกำรปฏิบัติต่อสัตว์อย่ำงมีคุณธรรมและมนุษยธรรม ก�ากับดูแล และบุคลากรอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการเลี้ยงและ
มีผลงำนเป็นที่ยอมรับของสำกล ส�ำหรับจรรยำบรรณกำร ใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ ต้องตระหนักว่าสัตว์เป็น
ด�ำเนินกำรต่อสัตว์เพื่องำนทำงวิทยำศำสตร์ ซึ่งคณะกรรมกำร สิ่งมีชีวิต มีความรู้สึกเจ็บปวดและตอบสนองต่อสภาพ
ก�ำกับและส่งเสริมกำรด�ำเนินกำรต่อสัตว์เพื่องำนทำงวิทยำศำสตร์ แวดล้อมเช่นเดียวกับมนุษย์
ได้จัดขึ้นตำมบทบัญญัติของ พระรำชบัญญัติสัตว์เพื่องำนทำง จึงต้องปฏิบัติต่อสัตว์ด้วยความระมัดระวังทุกขั้นตอน
วิทยำศำสตร์ พ.ศ. 2558 นี้ ได้ยึดหลักกำร “จรรยำบรรณกำรใช้ นับตั้งแต่การขนส่ง การเลี้ยงสัตว์ การป้องกันการติดเชื้อ การ
สัตว์เพื่องำนทำงวิทยำศำสตร์ สภำวิจัยแห่งชำติ” ซึ่งได้ประกำศ จัดการสภาพแวดล้อมของสถานที่เลี้ยง การใช้วัสดุอุปกรณ์
เผยแพร่เป็นหลักปฏิบัติของประเทศมำตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2542 เป็นหลัก และเทคนิคในการปฏิบัติต่อสัตว์ ให้สัตว์ได้รับความเจ็บปวด
โดยมีรำยละเอียดในกำรปฏิบัติเพิ่มเติมเพื่อให้เกิดควำมชัดเจน ความเครียด หรือความทุกข์ทรมานน้อยที่สุด
มำกยิ่งขึ้น ดังรำยละเอียดต่อไปนี้ 5. ผู้ใช้สัตว์ ผู้เลี้ยงสัตว์ ผู้ก�ากับดูแลประจ�า ณ สถานที่
ด�าเนินการ และผู้ผลิตสัตว์ ต้องบันทึกข้อมูลการปฏิบัติ
1. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงคุณค่าของชีวิตสัตว์ ต่อสัตว์ไว้เป็นหลักฐานอย่างครบถ้วน
โดยผู้ใช้สัตว์ต้องใช้สัตว์เฉพาะกรณีที่ได้พิจารณาอย่าง โดยผู้ใช้สัตว์ต้องปฏิบัติต่อสัตว์ตรงตามวิธีการที่เสนอ
ถี่ถ้วนแล้วว่าเป็นประโยชน์และจ�าเป็นสูงสุดต่อการพัฒนา ไว้ในโครงการ และต้องจดบันทึกไว้เป็นหลักฐานอย่างละเอียด
คุณภาพชีวิตของมนุษย์และสัตว์และ/หรือความก้าวหน้าทาง ครบถ้วน พร้อมที่จะเปิดเผยหรือชี้แจงได้ทุกโอกาส
วิชาการ และได้พิจารณาอย่างถี่ถ้วนแล้วว่าไม่มีวิธีการอื่นที่ 6. ในกรณีที่ผู้ใช้สัตว์หรือผู้ผลิตสัตว์เป็นผู้ได้รับใบอนุญาต
เหมาะสมเท่าหรือเหมาะสมกว่า ใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ หรือใบอนุญาตผลิตสัตว์
2. ผู้ใช้สัตว์ต้องตระหนักถึงความแม่นย�าของผลงานโดยใช้ เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ แล้วแต่กรณี ผู้ใช้สัตว์หรือ
สัตว์จ�านวนน้อยที่สุด ผู้ผลิตสัตว์ต้องปฏิบัติตามข้อก�าหนดกฎกระทรวงที่ออก
โดยผู้ใช้สัตว์จะต้องค�านึงถึงคุณสมบัติทางพันธุกรรม ตามกฎหมายว่าด้วยสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ใน
และคุณสมบัติทางสุขภาพของสัตว์ที่จะน�ามาใช้ให้สอดคล้อง ส่วนที่เกี่ยวข้องกับผู้รับใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทาง
กับวัตถุประสงค์และเป้าหมายของการใช้สัตว์ เพื่อให้มีการ วิทยาศาสตร์หรือผู้รับใบอนุญาตผลิตสัตว์เพื่องานทาง
ใช้สัตว์จ�านวนที่น้อยที่สุด และได้รับผลงานที่ถูกต้องแม่นย�า วิทยาศาสตร์ แล้วแต่กรณี รวมทั้งต้องปฏิบัติตามเงื่อนไข
มากที่สุด ที่ก�าหนดไว้ในใบอนุญาตด้วย
ขอขอบคุณข้อมูลจาก : หนังสือ “จรรยาบรรณการด�าเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์”
จัดท�าโดย สถาบันพัฒนาการด�าเนินการต่อสัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ (สพสว.) ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)
ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : สถำบันพัฒนำกำรด�ำเนินกำรต่อสัตว์เพื่องำนทำงวิทยำศำสตร์
(สพสว.) ส�ำนักงำนกำรวิจัยแห่งชำติ (วช.) เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลำดยำว เขตจตุจักร กรุงเทพมหำนคร 10900
โทรศัพท์ 0 2579 8751 โทรสำร 0 2579 0388 เว็บไซต์ https://labanimals.nrct.go.th
อีเมล labanimals@nrct.go.th
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9