Page 6 - จดหมายข่าว วช 112
P. 6

งานวิจัยเพื่อประชาชน


           การออกแบบลายผ้าย้อมคราม




                                    กำรออกแบบผลิตภัณฑ์จำกผ้ำย้อมครำม
                                สิ่งส�ำคัญที่จะท�ำให้ผลิตภัณฑ์ผ้ำย้อมครำมมีควำมสวยงำม โดดเด่น

                               และทันสมัย จ�ำเป็นอย่ำงยิ่งที่จะต้องมีกำรออกแบบลำยผ้ำให้เหมำะสม
                         กับผลิตภัณฑ์ และสร้ำงเอกลักษณ์ให้กับผลิตภัณฑ์ผ้ำย้อมครำมด้วย ดังนั้น
                  ผู้ที่จะพัฒนำผลิตภัณฑ์จำกผ้ำย้อมครำมจึงควรศึกษำแนวคิดในกำรออกแบบลำยผ้ำ
                   และกำรสร้ำงลำยผ้ำ ซึ่งจะกล่ำวดังต่อไปนี้


          แนวคิดการออกแบบลายผ้า มีหลักการคิด ดังนี้                    1.2  เทคนิคมัดหมี่ หมายถึง การทอขัดธรรมดา
                 1.  การผลิตซ�้าของเดิมจากบรรพบุรุษ หรือ ลาย ด้วยเส้นด้ายที่ผ่านการผูก มัด และย้อมสีเส้นใยฝ้ายให้เป็นลาย
          ประจ�าชุมชน เพราะมีความช�านาญในการผลิตลายดั้งเดิม   ก่อนทอผ้า การผูกและมัดเส้นใยฝ้ายจะใช้เชือกกล้วยหรือ
                 2.  การออกแบบลายผ้าทอหรือผลิตภัณฑ์ผ้าคราม เชือกฟาง เมื่อน�าไปย้อมสี สีจะติดเฉพาะส่วนที่ไม่มัด เมื่อแก้

          ขึ้นใหม่ โดยสร้างที่มาหรือเรื่องเล่า เพื่อให้เกิดคุณค่าและ  เชือกออกจะพบลายในส่วนที่ไม่ติดสี ชาวบ้านมีเทคนิคที่ท�าให้
          อัตลักษณ์ในตัวผ้าทอหรือผลิตภัณฑ์ผ้าคราม             การมัดหมี่เกิดมิติเรียกว่า โอบหมี่ คือการย้อมลายหมี่ให้มี
                 3.  การสร้างเอกลักษณ์ให้กับผ้าทอหรือผลิตภัณฑ์  เฉดสีอ่อนกว่าสีพื้น โดยมีเฉดสีที่มัดหมี่มากกว่าหนึ่งสีในกรณี
          ผ้าครามประจ�ากลุ่ม เพื่อสร้างความแตกต่างจากกลุ่มผู้ผลิตอื่น ของผ้าย้อมครามการโอบหมี่ท�าได้ด้วยการใช้เชือกฟาง 2 สี
                 4.  การน�าเทคนิคมากกว่าหนึ่งเทคนิคมาออกแบบ ขึ้นไป เป็นสัญลักษณ์ให้กับผู้ย้อมครามรู้ว่าต้องย้อมหมี่ที่มัด

          ลายผ้าหรือผลิตภัณฑ์ผ้าคราม เพื่อสร้างความแตกต่างจาก ด้วยฟางแต่ละสีกี่หม้อ
          ผลิตภัณฑ์เดียวกัน                                          ลายมัดหมี่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษ ส่วนใหญ่ได้
          การสร้างลายผ้า                                      แรงบันดาลใจจากธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมในวิถีชีวิต ความเชื่อ

                 การสร้างลายผ้า คือ การท�าให้ผ้าทอหรือผลิตภัณฑ์  และขนบธรรมเนียมประเพณี เช่น ลายพญานาค ลายนกยูง
          ผ้าครามเกิดลวดลายด้วยเทคนิคดั้งเดิมและเทคนิคใหม่ จ�าแนก ลายต้นสน ลายโคมห้า ลายเป็ด ลายเต่า เป็นต้น
          วิธีที่พบในตลาดผ้าย้อมคราม ดังนี้
                 1.  เทคนิคการทอผ้า ที่พบในกลุ่มผลิตผ้าย้อมคราม

          แบ่งเป็น 6 เทคนิค คือ
                   1.1  เทคนิคทอขัด หมายถึง การทอผ้าโดยมีฝ้าย
          เส้นพุ่งและเส้นยืนเป็นสีเดียวกันหรือสีต่างกัน หากทอเส้นยืน
          สลับสีก็จะเกิดผ้าลายริ้วทางยาว หรือใช้ฝ้ายเส้นพุ่งสลับสีก็จะ

          เกิดผ้าลายขวาง หรือเส้นยืนและเส้นพุ่งสลับสีจะได้ลายตาราง
          เช่น ผ้าพื้น ผ้าซิ่นลายทาง ผ้าขาวม้า ผ้าลายเกล็ดเต่า เป็นต้น









                                                                         ลวดลายจากการมัดหมี่ย้อมคราม

                                                                     เทคนิคการมัดหมี่ในพื้นที่จังหวัดสกลนครมี 2 ประเภท
                                                              คือ (1) การมัดหมี่เส้นพุ่ง เป็นการมัดย้อมลวดลายเฉพาะ
                                                              เส้นพุ่งเท่านั้น ซึ่งเป็นวิธีที่นิยมทอมากที่สุดในกลุ่มทอผ้า

                                                              ย้อมคราม (2) การมัดหมี่เส้นยืน เป็นการมัดย้อมลวดลาย
                        ลวดลายจากเทคนิคทอขัด                  เฉพาะเส้นยืนเท่านั้น

                                                                                    สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11