Page 7 - จดหมายข่าว วช 112
P. 7
1.3 เทคนิคจก พบมากในภาคเหนือ โดยเฉพาะ เทคนิคการทอผ้าลายมุกเป็นการทอผ้าเอกลักษณ์
กลุ่มวัฒนธรรมไทพวน ไทลื้อ ไทครั่ง และภูไท ค�าว่า จก หมายถึง ประจ�าอ�าเภอโพนนาแก้ว ซึ่งกลุ่มทอผ้าลายมุกบ้านใหม่หนองผือ
การควัก ล้วง ขุด คุ้ย วิธีการจก คือ การล้วงหรือจกด้ายเส้นพุ่ง มีวิธีการทอยกดอกโดยใช้ตะกอ 3 ลักษณะ คือ ลายมุกเล็กใช้
พิเศษขึ้นลง เพิ่มด้ายพุ่งพิเศษเข้าไปเป็นช่วง ๆ ตลอดหน้ากว้าง 4 ตะกอ ลายมุกกลางใช้ 11 ตะกอ และลายมุกใหญ่ใช้ 13 ตะกอ
ของผ้า โดยใช้ไม้หรือขนเม่นหรือนิ้วมือยก จกด้ายเส้นยืนขึ้น
สอดใส่ด้ายพุ่งพิเศษเข้าไป จากนั้นกระแทกฟืมให้แรงเกิด
ลวดลายและสีสัน การทอผ้าจกนิยมทอเป็นตีนซิ่นเพื่อน�ามา
ประกอบตัวซิ่น เรียกว่า ผ้าตีนจก เทคนิคการทอผ้าจกแบ่งเป็น
2 วิธีตามลักษณะการผูกเก็บปมเส้นพุ่งพิเศษ คือ (1) วิธีผูก
เก็บปมเส้นด้ายพุ่งพิเศษด้านบน เป็นเทคนิคที่นิยม สามารถ
มัดเก็บปมได้แน่น (2) วิธีผูกเก็บปมเส้นด้ายพุ่งพิเศษด้านล่าง
เป็นรูปแบบการทอที่ดูลวดลายหลังทอเสร็จแล้วจากด้านบน
1.4 เทคนิดขิด เป็นการทอผ้าขั้นสูง ลวดลายผ้า
เกิดจากการใช้ไม้เก็บขิดสะกิดหรือขิดซ้อนเครือเส้นยืนขึ้น และ
พุ่งกระสวยสอดเส้นพุ่งพิเศษและเส้นพุ่งเข้าไปตลอดแนวเครือ
เส้นยืนที่ถูกงัดหรือช้อนขึ้น ขัดตามลายต้องการ ผ้าลายขิด ผ้าลายมุกเอกลักษณ์ของอ�าเภอโพนนาแก้ว
ในแต่ละท้องถิ่นมีลวดลาย สีสัน และวัตถุประสงค์การใช้งาน
ต่างกัน ผ้าลายขิดนิยมท�าเป็นเครื่องนุ่งห่ม หมอนและสิ่งทอ 1.6 เทคนิคควบเส้น พบมากในภาคอีสาน ซึ่ง
เพื่อพระพุทธศาสนา แต่ห้ามใช้ท�าผืนผ้าซิ่น ยกเว้นหัวผ้าซิ่น เป็นวิธีสร้างลวดลายเป็นสีเหลื่อมกันของเส้นใยในผืนผ้าด้วย
ในกลุ่มผลิตผ้าย้อมคราม ได้น�าเทคนิคขิดมาใช้ร่วมกับ ขั้นตอนก่อนการทอ โดยน�าเส้นใยไหมหรือเส้นใยฝ้ายสองสีที่
การมัดหมี่ผ้าทอเพื่อให้ผ้าทอย้อมครามมีความประณีต เพิ่ม มีน�้าหนักสีอ่อนแก่แตกต่างกัน เช่น สีขาวกับสีฟ้า สีเหลืองกับ
มูลค่าและคุณค่าให้กับผู้บริโภค สีเขียว เป็นต้น มาปั่นตีเกลียวเป็นเส้นเดียวกัน ซึ่งน�ามาใช้เป็น
เส้นพุ่งหรือเส้นยืนก็ได้ แล้วใช้เทคนิคการทอขัดธรรมดาเนื้อผ้า
ที่ได้จากการทอมีลักษณะสีเหลื่อมล�้ากันเป็นมันวาว คล้ายหาง
กระรอก จึงเรียก “ผ้าหางกระรอก” บางท้องถิ่นใช้ชื่อเรียก
อื่น เช่น กลุ่มภูไทและกลุ่มไทลาวในภาคอีสาน เรียก “เข็น”
เป็นต้น
วิธีการทอควบเส้นมี 3 แบบ คือ (1) ลวดลายหาง
กระรอกที่พุ่งไปด้านขวา เป็นการทอด้วยเส้นใยที่ตีเกลียวด้าน
ขวา (2) ลวดลายหางกระรอกที่พุ่งไปด้านซ้าย เป็นการทอด้วย
เส้นใยที่ตีเกลียวด้านซ้าย (3) ลวดลายหางกระรอกที่มีลายพุ่ง
เป็นหยักแหลม เป็นการใช้กระสวย 2 อัน ทอพุ่งย้อนสลับกัน
ซ้าย - ขวา
2. เทคนิคปักและปะ เป็นศิลปะการสร้างลวดลายใน
ผ้าย้อมครามทอด้วยเทคนิคขิด
ผืนผ้า พบมากในผ้าปักกลุ่มชาวไทยภูเขา ส่วนชนพื้นราบนิยม
1.5 เทคนิคยกมุก เป็นศิลปะการทอผ้าแบบหนึ่ง ใช้วิธีการปักและปะเทคนิคการปักหรือปะมี 2 ลักษณะ คือ
ของกลุ่มไทยวน ไทพวน และภูไท นิยมทอในภาคเหนือและ (1) การปักและปะด้วยการใช้ผ้าพื้นสีสดน�ามาเย็บประกอบ
ภาคอีสาน ผ้ายกมุกเป็นเทคนิคการทอโดยใช้เส้นพิเศษเพิ่มบน กันปะติดกันเป็นลวดลาย (2) การปัก โดยใช้เข็มสอดด้ายสีสด
กี่ทอผ้า ลายยกบนผ้าเกิดจากการใช้ตะกอลายยกด้ายยืนพิเศษ ปักสอดเป็นลวดลายในผืนผ้า ซึ่งปัจจุบันกลุ่มผ้าย้อมครามน�า
โดยเส้นยืนพิเศษจะถูกจัดไว้ตอนบนของเส้นยืนธรรมดาที่ขึงไว้ เทคนิคการปักมาใช้ เพื่อเป็นการสร้างมูลค่าให้กับผลิตภัณฑ์
เวลาทอผ้าเส้นพิเศษจะถูกดึงลงมาเสริมลงไปในเส้นยืนธรรมดา ผ้าคราม
และเกิดเป็นลวดลายตามแบบที่เก็บตะกอไว้
สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) (อ่านต่อหน้า 8) 7