Page 8 - จดหมายข่าว วช 112
P. 8

งานวิจัยเพื่อประชาชน


                                                                     4.  เทคนิคบาติก คือ วิธีการท�าลวดลายโดยใช้เทียน
                                                              ปิดส่วนที่ไม่ต้องการให้ติดสี และใช้วิธีแต้ม ระบาย หรือย้อมสี

                                                              ในส่วนที่ต้องการให้ติดสีโดยมีเทคนิคดังนี้
                                                                       4.1  การออกแบบลวดลาย อาจออกแบบบน
                                                              กระดาษก่อน หรืออาจเขียนลวดลายลงบนผ้าด้วยดินสอ
                                                                       4.2  น�าเทียนที่เขียนบาติกมาหลอมละลายให้

                                                              เหลว ใช้แปรงจุ่มเทียนแล้วลากทับลงบนลายตามต้องการ
                 การใช้เทคนิคการปักในผลิตภัณฑ์ผ้าคราม                  4.3  รอให้เทียนแห้ง จากนั้นน�าไปย้อมครามหรือ
                 3.  เทคนิคมัดย้อม คือ การน�าผ้ามามัดกับวัสดุต่าง ๆ    ย้อมสีตามที่ต้องการ
          ก่อนน�าไปย้อมสี เมื่อแกะวัสดุที่มัดผ้าออกจะเกิดลวดลาย        4.4  ต้มในน�้าเดือดแล้วซักล้างเพื่อขจัดคราบ

          บนผ้า                                               เทียนออกจากผ้า ท�าได้โดยน�าผ้าที่วาดลวดลายและย้อมเสร็จ
                 กลุ่มผ้าย้อมครามในจังหวัดสกลนครน�าเทคนิค     แล้วน�าไปต้ม เพื่อให้บริเวณที่มีคราบเทียนหลุดออก ส่วนที่หลุด
          มัดย้อมมาใช้กับการย้อมคราม ผลิตภัณฑ์ที่นิยมน�ามาย้อม เช่น   ไปจะไม่ติดสี (สีเดิมของผ้า)
          ผ้าผืน เสื้อยืดหรือเสื้อผ้าฝ้ายสีขาว เป็นต้น

                 วัสดุที่ใช้ในการมัดย้อม มี 2 ลักษณะ คือ
                 1.  วัสดุที่หาได้จากในพื้นที่ เช่น ไม้ไอศกรีม ก้อนหิน
          ยางเชือก เป็นต้น ซึ่งในการมัดย้อมแต่ละครั้ง ผู้มัดย้อมจะสร้าง
          จินตนาการของตนเองเป็นเรื่องราวบอกเล่าลงในวัสดุที่มัด ก่อน

          จะน�าไปย้อมคราม เพื่อเกิดเป็นลวดลาย ซึ่งบางครั้งลวดลายที่
          ได้ก็ไม่ตรงตามจินตนาการของผู้สร้าง กลายเป็นลวดลายใหม่      เทคนิคบาติกสร้างลวดลายบนผ้าย้อมคราม
          เหนือจินตนาการ
                 2.  วัสดุที่จ้างท�าหรือซื้อเพื่อใช้ส�าหรับมัดย้อม เช่น   เทคนิคนี้พบมากในกลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านค�าข่า

          การสร้างลวดลายบนแผ่นไม้เพื่อท�าเป็นบล็อกส�าหรับการ   ฮูปแต้ม Manncraft และนายเจษฎา กัลยาบาล โดยเฉพาะ
          มัดย้อม เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการมัดย้อมมีลักษณะที่   กลุ่มทอผ้าย้อมครามบ้านค�าข่า จะใช้เทคนิคผสมผสานกันลง
          แตกต่างจากกลุ่มอื่น                                 บนผืนผ้ามากกว่า 1 เทคนิค เพื่อสร้างเรื่องราวและคุณค่าของ
                                                              ผ้าย้อมคราม



                                                                      ขอขอบคุณข้อมูลจาก : หนังสือคู่มือ “กระบวนการ
                                                               ย้อมสีคราม การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมช่องทาง
                                                               การตลาด” จัดท�าโดย ส�านักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.)

                                                               ร่วมกับมหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร



                                                               ผู้สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ :

                                                               สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร เลขที่ 680
                                                               อาคาร 10 ถนนนิตโย ต�าบลธาตุเชิงชุม อ�าเภอเมือง จังหวัด
                                                               สกลนคร 47000 โทรศัพท์/โทรสาร 0 4297 0154 เว็บไซต์
                                                               http://rdi.snru.ac.th อีเมล rdi_snru@snru.ac.th


                 วิธีการมัดผ้าและบล็อกพิมพ์ก่อนน�าไปย้อมคราม

                 * ข้อมูลบทความ “การออกแบบลายผ้าย้อมคราม” เป็นเพียงบางส่วน บางตอน จากหนังสือคู่มือ “กระบวนการย้อม
          สีคราม การออกแบบผลิตภัณฑ์ และการส่งเสริมช่องทางการตลาด” เท่านั้น
                                                                                    สำ�นักง�นก�รวิจัยแห่งช�ติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13