Page 11 - NRCT_115
P. 11

นักวิจัยตŒองมีใจเปดกวŒางทางความคิด

                 •  •
                 •  ยินดีรับฟงขอเสนอแนะ ขอคิดเห็น ขอติติงและคําวิจารณเชิงวิชาการจากเพื่อนรวมงาน
                    และผูอื่น ดวยใจที่เปนกลาง
                 •  แสดงความคิดเห็น วิเคราะห วิจารณผลงานของผูอื่นดวยความบริสุทธิ์ใจ ปราศจาก

                    อคติ มีเหตุผลตามมาตรฐานทางวิชาการ และไมลบหลูนักวิจัยอื่น

                 นักวิจัยตŒองมีความยุติธรรม

                 •  มีความเปนธรรมในการใหนํ้าหนักความรับผิดชอบในระหวางผูรวมวิจัยเกี่ยวกับเนื้องาน การกําหนดชื่อเรื่อง และ
                    จํานวนบทความวิชาการที่จะตีพิมพ รวมทั้งสิทธิที่จะไดรับในความเปนผูนิพนธรวมในผลงานวิจัยที่ตีพิมพ โดยมีการ

                    ตกลงที่ชอบดวยเหตุผล และยอมรับกันในคณะวิจัย
                                     •  มีความโปรงใสในการแบงคาใชจายเพื่อการวิจัยในระหวางผูรวมวิจัย จัดสรรวัสดุ ครุภัณฑ
                                        และสิ่งอํานวยความสะดวกอยางเพียงพอ เพื่อใหผูรวมวิจัยสามารถทําวิจัยในสวนที่แตละคน
                                        รับผิดชอบไดจนสําเร็จ จัดสรรคาตอบแทน สิทธิหรือผลประโยชนที่ได (ถามี) ใหผูรวมวิจัย

                                        อยางเที่ยงธรรมและเปนที่ยอมรับดวยเหตุและผล
                                     •  ไมนําสวนหนึ่งสวนใดของการวิจัยที่ไดตกลงและดําเนินงานรวมกันในคณะวิจัย เชน ขอมูล

                                        หรือตัวอยางที่ศึกษา กระบวนการวิจัย หรือผลลัพธ เปนตน ไปใชประโยชนในประเด็นอื่น ๆ
                                        เพิ่มเติม เพื่อผลประโยชนสวนตน อาทิ ขอทุนวิจัยจากแหลงทุนอื่น ตีพิมพรายงานวิจัย

                                        โดยระบุเฉพาะชื่อตนเปนผูนิพนธ จดสิทธิบัตรโดยไมไดรับความเห็นชอบจากคณะวิจัย
                                        และหัวหนาโครงการวิจัย

                 นักวิจัยตŒองปฏิบัติตนเปšนแบบอย‹างที่ดีแก‹ผูŒร‹วมวิจัย

                 •  ประพฤติตนเปนคนดีมีคุณธรรม สมควรแกตําแหนงหนาที่
                 •  เปนแบบอยางที่ดีแกนักวิจัยอื่น ๆ ในการคิดคนควา หาเหตุผล
                    ในการทําวิจัย เพื่อสรางองคความรู และนวัตกรรมที่เปน

                    ประโยชนทางวิชาการ วิชาชีพ การวิจัยและพัฒนา
                 •  คงไวซึ่งความถูกตองและเที่ยงธรรม ไมประนีประนอมจนทําให

                    ผลงานวิจัยดอยคุณคา
                 •  พัฒนาบทบาทของตนใหเกิดประโยชนยิ่งขึ้น และสงเสริมให

                    ผูรวมวิจัยในคณะและนักวิจัยอื่น ๆ พัฒนาความรูความสามารถ
                    ในการวิจัย ใหมีคุณภาพและเกิดประโยชนในการสรางสรรคความรู ชี้แนะและแกปญหา รวมทั้งพัฒนาสังคมและ
                    ประเทศชาติใหเจริญกาวหนายิ่งขึ้น
                 •  กระตุนจูงใจใหผูรวมวิจัยในโครงการปฏิบัติตามและรักษาไวซึ่งจรรยาวิชาชีพวิจัย

                                                                                            (โปรดอานตอฉบับหนา)


                                                                      ขอขอบคุณขอมูลจาก : หนังสือ “จรรยาวิชาชีพวิจัย
                                                              และแนวทางปฏิบัติ” จัดทําโดย สํานักงานการวิจัยแหงชาติ
                                                              (วช.) เลขที่ 196 ถนนพหลโยธิน แขวงลาดยาว เขตจตุจักร

                                                              กรุงเทพมหานคร 10900
                                                                      * ขอมูลบทความ “จรรยาวิชาชีพของนักวิจัย และ

                                                              แนวทางปฏิบัติ (ตอนที่ 1)” เปนเพียงบางสวนบางตอน
                                                            จากหนังสือ จรรยาวิชาชีพวิจัย และแนวทางปฏิบัติ เทานั้น


         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16