Page 7 - NRCT_115
P. 7
งานวิจัยเพ� อประชาชน
การสรางแนวความคิดในการออกแบบ
ผลิตภัณฑสิ่งทอพื้นถิ่น
การสรางแนวความคิดในการออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอพื้นถิ่น
เปนการกําหนดทิศทางแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอที่ชัดเจน ซึ่ง
จะสงผลตอผลิตภัณฑสิ่งทอที่ได ใหมีความแปลกใหม มีเอกลักษณเฉพาะตัว
การสรางแนวความคิดในการออกแบบ จึงเปนสิ่งที่นักออกแบบตองคิดคน
หาวิธีการที่เหมาะสมกับบริบท สถานการณ และแนวโนมของความนิยม ดังนั้น
การสรางแนวคิดในการออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอพื้นถิ่นจึงตองศึกษา
สิ่งตาง ๆ ที่อยูในพื้นถิ่นกอน ดังนี้
1 บริบททางศิลปะและวัฒนธรรม การสรางเรื่องราวของผลิตภัณฑ
2 2 2 ประเพณี ความเชื่อ ในกระบวนการสรางแนวความคิดในการออกแบบ
3 3 3 สภาพแวดลอม สถานที่สําคัญ แหลงทองเที่ยว ผลิตภัณฑสิ่งทอ การสรางเรื่องราวของผลิตภัณฑสิ่งทอ
4 4 4 เรื่องเลา ตํานาน เรื่องราวตาง ๆ นับวามีความสําคัญเปนอยางยิ่ง เพราะเรื่องราวเปนสวนที่
5 5 5 แหลงวัตถุดิบ และกรรมวิธีการผลิตที่เหมาะสม ชวยสรางคุณคาใหกับตัวผลิตภัณฑ ในดานจิตวิทยาเปนการ
สรางความเชื่อมั่นและความภูมิใจในการใชผลิตภัณฑสิ่งทอ
นอกจากนี้ ยังควรศึกษาแนวโนมการตลาด กระแส นั้น ๆ อยางไรก็ตาม การสรางเรื่องราวในตัวผลิตภัณฑสิ่งทอ
ความนิยม ของกลุมผูซื้อดวย สามารถสรางไดดังนี้
ในการออกแบบผลิตภัณฑสิ่งทอ เกิดจากความคิด 1. สรางขึ้นจากเรื่องราวความเปนมาของชุมชน
สรางสรรคในการคิดคนสิ่งที่แปลกใหมไมซํ้ารูปแบบที่มีมา โดยการรวบรวมเรื่องราวความเปนมา อาจเปน
อยูแลว อาจจะคิดคนขึ้นมาใหม หรือพัฒนาจากรูปแบบเดิม เรื่องราวของกลุมชาติพันธุ การกอตั้งชุมชน
ใหดีขึ้น ในการคิดรูปแบบของผลิตภัณฑสิ่งทอ เปนการยาก การยายถิ่นฐาน ตัวอยางกรณีบานนายาว
ที่ออกแบบจากกระดาษวางเปลาโดยไมมีประสบการณทาง ไดนําเสนอเรื่องราวของชนชาวอีสานยายถิ่นฐาน
ความงามใดเลย ดังนั้น ผูออกแบบตองมีแรงบันดาลใจในการ เขามาในพื้นที่ เมื่อราว 30 กวาปที่แลว จนเกิด
ออกแบบ หรือปรับปรุงพัฒนาผลิตภัณฑสิ่งทอใหดีขึ้นกวาเดิม เปนวัฒนธรรมอีสานที่พลัดถิ่นมาอยูในเขต
เมื่อศึกษาสิ่งตาง ๆ รอบตัว ทั้งรูปทรงที่ไดจาก ภาคกลาง คือจังหวัดฉะเชิงเทรา แลวรวมตัวกัน
ธรรมชาต
ธรรมชาต
ธรรมชาติ และรูปทรงที่มนุษยสรางขึ้น รวมทั้งวัฒนธรรมิ และรูปทรงที่มนุษยสรางขึ้น รวมทั้งวัฒนธรรมิ และรูปทรงที่มนุษยสรางขึ้น รวมทั้งวัฒนธรรม ตัดเย็บเสื้อผา
ประเพณีของพื้นถิ่น โดยนําสิ่งที่ไดจากการศึกษารูปแบบ ีของพื้นถิ่น โดยนําสิ่งที่ไดจากการศึกษารูปแบบ ีของพื้นถิ่น โดยนําสิ่งที่ไดจากการศึกษารูปแบบ
ประเพณ
ประเพณ
มาลดทอน แปลความ เอาเฉพาะสวนที่สําคัญออกมา
คลี่คลาย ตอเติมเสริมแตง รวมทั้งสรางเรื่องราว
ใหกับตัวผลิตภัณฑดังกลาวนี้ จะสงผลตอรูปแบบของ
ผลิตภัณฑสิ่งทอที่มีเอกลักษณของพื้นถิ่นนั้น ๆ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) (อานตอหนา 8) 7