Page 6 - NRCT125
P. 6

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล



















                 วช. หนุน GISTDA พัฒนาระบบ COVID-19 iMAP

                          สนับสนุนบริหารสถานการณแบบครอบคลุม




                 “ขŒอมูล” เปšนพื้นฐานสําคัญของกระบวนการวิเคราะหเพื่อใหŒ สามารถสนับสนุนการทํางานใหกับศูนยปฏิบัติการควบคุมโรค
          การตัดสินใจแกŒป˜ญหาเปšนไปอย‹างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (ศปก.) และศูนยบริหารสถานการณแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
          สูงสุด แต‹ภายใตŒสถานการณวิกฤตที่มีการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส ไวรัสโคโรนา 2019 (ศบค.) โดยใชภูมิสารสนเทศและขอมูลภาพ
          โคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโรคโควิด-19 ที่กระจายไปทุกจังหวัด จากดาวเทียมมาชวยกําหนดพื้นที่เสี่ยงตอการแพรระบาด
          ทั่วประเทศ ขŒอมูลที่เกี่ยวขŒองจึงมีอยู‹เปšนจํานวนมาก และมีการเปลี่ยนแปลง จนนําไปสูการควบคุมพื้นที่ระบาดไดอยางเปนระบบและมี
          อย‹างรวดเร็ว รูปแบบการนําเสนอขŒอมูลที่เกี่ยวขŒองอย‹างชัดเจน  ประสิทธิภาพ โดยบูรณาการขอมูลจากหนวยงานที่เกี่ยวของ
          ง‹ายต‹อการทําความเขŒาใจ และทันต‹อสถานการณ จึงเปšนเรื่องสําคัญ ไมวาจะเปน กรุงเทพมหานคร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข

          ที่ทําใหŒการตัดสินใจแกŒป˜ญหาเปšนไปอย‹างรวดเร็วและมีประสิทธิผล  การเคหะแหงชาติ เปนตน เพื่อรวบรวมขอมูลในดานตาง ๆ
                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา  ไมวาจะเปนที่ตั้งของโรงพยาบาลสนามตามจุดตาง ๆ ขอมูลของ
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ไดเห็นความสําคัญของ ชุมชนแออัด รวมถึงขอมูลอื่น ๆ ที่เกี่ยวของหลากหลายดาน
          การพัฒนาระบบขอมูลการระบาดของโรคโควิด-19 ใหอยูใน เพื่อนํามาประกอบการรายงานผล และใชประกอบการตัดสินใจ
          รูปแบบมาตรฐาน มีความเปนเอกภาพ สามารถเชื่อมโยงขอมูลกัน ในเชิงนโยบายใหกับ  ศปก.ศบค.  ซึ่งจะนําไปสูการบริหาร
          ไดทั้งในระดับหนวยงาน ระดับพื้นที่ จนถึงระดับประเทศ ซึ่งเปน ทรัพยากรทางการแพทยไดอยางเต็มศักยภาพ และการกําหนดเปน
          โครงสรางพื้นฐานสําคัญของประเทศในการใชเปนขอมูลพื้นฐาน มาตรการตาง ๆ ที่เหมาะสม เพื่อลดการแพรระบาดในเขตพื้นที่
          ในการตัดสินใจในเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาและแกไขปญหาตาง ๆ  กรุงเทพมหานครใหไดอยางรวดเร็ว และในชวงการระบาดในพื้นที่
          ของชาติและของประชาชนไดอยางมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล  จังหวัดสมุทรสาคร ระบบ iMAP ก็ยังถูกนําไปใชในพื้นที่จังหวัด
          จึงไดสนับสนุนทุนวิจัยแก นายตติยะ ชื่นตระกูล รองผูอํานวยการ สมุทรสาครเพื่อรายงานและติดตามขอมูลเชิงพื้นที่ สถานการณ
          สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องคการ การระบาด การกระจายตัวของโรค และความรุนแรงที่เกิดขึ้น
          มหาชน) หรือ GISTDA กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย ในพื้นที่แตละแหง เพื่อประกอบการตัดสินใจเชิงนโยบายเพื่อลดการ
          และนวัตกรรม (อว.) จัดทําวิจัยโครงการระบบบริหารสถานการณ แพรระบาด นอกเหนือจากการรายงานขอมูลพื้นฐานแลว ในอนาคต
          โควิด-19 โดยเนนพัฒนาระบบ iMAP จากการบูรณาการขอมูล คาดหวังวา ระบบ COVID-19 iMAP จะชวยคาดการณสถานการณ
          แหลงตาง ๆ ไมวาจะเปนขอมูลดานสาธารณสุข ขอมูลประชากร  ที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได เชน หากมีการเคลื่อนยายคน มีการ
          หรือขอมูลที่ตั้งโรงงาน ตลาด ชุมชนแออัด ขอมูลเหลานี้จะถูก ล็อกดาวน ผลที่ตามมาจะเปนอยางไร จะสงผลกระทบตอเศรษฐกิจ
          นํามาวิเคราะหรวมกันจนนําไปสูคําตอบที่บอกเราไดวาควรจะตอง อยางไร โดยอาจจะตองเชิญผูเชี่ยวชาญในสาขาที่เกี่ยวของเขามา
          ดําเนินการตอไปอยางไร โดยปจจุบันระบบบูรณาการขอมูล หรือ iMAP  รวมวิจัยและพัฒนาตอไปในอนาคต

                                                                                               สัญลักษณ
                                                                                                 ชุมชนแออัด จํานวน 680 จุด
                                                                                                 (ที่มา : การเคหะแหงชาติ)
                                                                                                 ตลาด จํานวน 746 จุด
                                                                                                 (ที่มา : NOSTRA)
                                                                                                 ผูติดเชื้อรายเขต
                                                                                                 (ที่มา : กรุงเทพมหานคร)
                                                                                                    มากกวา 600 คน
                                                                                                    301 - 600 คน
                                                                                                    นอยกวา 300 คน


                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11