Page 5 - NRCT126
P. 5

ดานวัคซีนใบยา  โดยการพัฒนาของจุฬาลงกรณ

          มหาวิทยาลัย สรางนวัตกรรมการใชเซลลใบยาสูบในกระบวนการ
          สรางวัคซีน ชี้ใหเห็นวา จากการทดลองวัคซีนในหนู สามารถ
          กระตุนภูมิคุมกันไดดีมาก และมีความปลอดภัย จึงวางแผน
          การพัฒนาวัคซีนเปน 2 Generation คือ การขยายผลทดลอง
          ในมนุษยในระยะที่ 1 ในเดือนกันยายน 2564 เพื่อหาขนาด

          ของวัคซีนที่เหมาะสมในการกระตุนภูมิ รวมถึงมีความปลอดภัย
          เพื่อนําขอมูลไปใชกับวัคซีน Generation ที่สอง คือ การปรับสูตร
          ใหสามารถครอบคลุมสายพันธุตาง ๆ และกระตุนภูมิคุมกัน
          ไดดีขึ้น โดยไดเตรียมทดสอบในมนุษย ระยะที่ 1 และ 2 ในเดือน

          ธันวาคม 2564 ตอไป
                 เชนเดียวกับ องคการเภสัชกรรม และมหาวิทยาลัย
          มหิดล ผูพัฒนาวัคซีน DNV-HXP-S ซึ่งเปนวัคซีนชนิดเชื้อตาย
          โดยเทคโนโลยีไขไกฟก ที่ผลการวิจัยพบวา มีความปลอดภัย
          และกระตุนภูมิคุมกันไดดีในสัตวทดลอง ถือเปนวัคซีนตัวแรก

          ที่ไดเริ่มการทดสอบในมนุษยระยะที่ 1 ขณะนี้ไดทดสอบใน
          ระยะที่ 2 เรียบรอยแลวเมื่อเดือนกรกฎาคม 2564 ที่ผานมา
          คาดวาปลายปนี้จะไดทราบผล และจะทดสอบในระยะที่ 3
          ตอไป โดยการพัฒนาในครั้งนี้ใชเทคโนโลยีเดียวกันกับวัคซีน

          ไขหวัดใหญ จึงไมตองลงทุนสรางโรงงานใหม และไดรับ
          ความรวมมือในระดับนานาชาติ จากองคการ PATH และ ผูผลิต
          ทั้งเวียดนามและบราซิล จึงมีความปลอดภัยสูง
                 ในสวนของภาคเอกชน บริษัท ไบโอเนท - เอเชีย จํากัด
          ผูสรางนวัตกรรมวัคซีนโควิด-19 ชนิดดีเอ็นเอ ขณะนี้อยูระหวาง

          การยื่นขออนุมัติกับสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา (อย.)
          เพื่อทดสอบในมนุษยระยะที่ 1 ภายในเดือนตุลาคม 2564 นี้ และ
          คาดวาจะเริ่มทดสอบในมนุษยระยะที่ 2 และ 3 ภายในป 2564
          ในขณะเดียวกันไดมีการทดสอบในมนุษยระยะที่ 1 ที่ประเทศ

          ออสเตรเลียแลว กับอาสาสมัคร 150 คน แบบขนานกันไป
          ซึ่งบริษัทฯ มีความพรอมในการผลิตวัคซีนโควิด-19 ทั้งชนิด
          ดีเอ็นเอ (DNA) และเอ็มอารเอ็นเอ (mRNA) หากเปนวัคซีนชนิด
          ดีเอ็นเอ ที่บริษัทฯ ศึกษาวิจัยเอง จะสามารถผลิตไดในระดับ
          อุตสาหกรรมไดอยางรวดเร็ว

                 จากความกาวหนาของการวิจัยวัคซีนดังกลาว
          สวนหนึ่งคือการวิจัยและพัฒนาภายใตการสนับสนุนจาก
          สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) รวมกับสถาบันวัคซีน ไดอยางทันทวงที โดยหากการวิจัยและพัฒนาในครั้งนี้ประสบ

          แหงชาติ ในการสนับสนุนทุนวิจัยและพัฒนาวัคซีนปองกัน ความสําเร็จ จะสามารถสรางความมั่นคงใหกับประเทศไทยได
          เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หรือโควิด-19 ดําเนินการ ในระดับสากล เนื่องจากการวิจัยและพัฒนามีความกาวหนามา
          วิจัยโดยหนวยงานที่มีความเชี่ยวชาญ  ในการวิจัยพัฒนา อยางตอเนื่อง และมีความเชื่อมั่นเปนอยางยิ่งวาจะประสบความ
          และผลิตวัคซีนโควิด-19 เพื่อรับมือกับการแพรระบาดของ สําเร็จตามที่คาดหวังไวในการพัฒนาวัคซีนปองกันโรคโควิด-19
          โรคโควิด-19 และชวยลดปญหาทางดานสาธารณสุขของประเทศ ที่มีประสิทธิภาพของนักวิจัยไทย

         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10