Page 8 - NRCT126
P. 8

งานวิจัยตามนโยบายรัฐบาล

                 การวิจัยสมุนไพรไทย พบ 8 ชนิด มีฤทธิ์ตานโควิด-19





















              ดร.วราภรณ ตัณฑนุช
           นักวิทยาศาสตรระบบลําเลียงแสง  การแพร‹ระบาดของ ในระดับเซลลไลนพบอีกดวยวา สารสกัดบางชนิดฤทธิ์เปน
          แหง สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน   โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019  สารตานอนุมูลอิสระ และบางชนิดมีฤทธิ์ตานการอักเสบ โดยกระตุน
               หัวหนาโครงการวิจัย  (COVID-19) หรือโรคโควิด-19  การสราง anti-inflammatory cytokines IL-10 mRNA มากขึ้น

          ยังไม‹ยุติลง และประเทศไทยยังไดŒรับผลกระทบจากการแพร‹ระบาด การวิเคราะหองคประกอบของสมุนไพรเบื้องตนดวย Fourier
          ของโรคโควิด-19 อยู‹ สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวง Transform Infrared Spectroscopy พบวา การศึกษาสมุนไพร
          การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จึงไดŒสนับสนุน ทั้ง 8 ชนิด มีองคประกอบของสารในกลุมเทอรพีนอยดเปนหลัก
          ใหŒหน‹วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบันต‹าง ๆ ศึกษาวิจัย  โดยงานวิจัยขณะนี้อยูในขั้นตอนการทดสอบประสิทธิภาพ
          และพัฒนานวัตกรรม เพื่อช‹วยยับยั้งและป‡องกันการแพร‹ระบาดของ ของสมุนไพร 8 ชนิดที่ผานการคัดเลือกมา นําไปทดสอบโดยตรง
          โรคโควิด-19 โดยสนับสนุนการวิจัยสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน  กับเชื้อไวรัส SARS-CoV-2 ที่กอโรคโควิด-19 โดยภาควิชา
          มหาวิทยาลัยมหิดล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ศึกษาวิจัย จุลชีววิทยาและอิมมิวโนโลยี คณะเวชศาสตรเขตรอน มหาวิทยาลัย

          ประสิทธิภาพของสมุนไพรไทย เพื่อตŒานเชื้อไวรัส        มหิดล เปนศูนยตรวจคัดกรองและเพาะเลี้ยงไวรัส SARS-CoV-2
                 โดยไดใหทุนสนับสนุนการวิจัยแก ดร.วราภรณ ตัณฑนุช  ที่มีหองปฏิบัติการไวรัสวิทยาตามมาตรฐานความปลอดภัยระดับ
          นักวิทยาศาสตรระบบลําเลียงแสง  สถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน  ที่ 3 (Bio Safety Level 3; BSL-3) จึงมีความปลอดภัยและ
          กระทรวง อว. และทีมนักวิจัยจากสถาบันฯ รวมกับ มหาวิทยาลัย มีประสิทธิภาพสูงในการทดสอบประสิทธิภาพของยาหรือสารสกัด
          มหิดล และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ใหดําเนินโครงการวิจัย  สมุนไพร ในการยับยั้งการเจริญของไวรัส การตรวจหาคาความเปนพิษ
          “การใชสมุนไพรประสิทธิภาพสูงในการตานเชื้อไวรัสโควิด-19”  ตอเซลลเพาะเลี้ยง (cell cytotoxicity) ในระดับหลอดทดลอง
          โดยดําเนินทดสอบประสิทธิภาพของสารสกัดสมุนไพร จํานวน  (in vitro assay)
          23 ชนิด ที่มีฤทธิ์ในการตานเชื้อไวรัสหลากหลายสายพันธุ     เมื่อทําการคัดเลือกสมุนไพรที่มีฤทธิ์การตานเชื้อไวรัส

          ซึ่งผลการทดสอบพบวา สามารถคัดเลือกสารสกัดจากสมุนไพรได  สูงสุดไดแลว ทางทีมวิจัย จะทําการศึกษากลไกของสมุนไพร
          จํานวน 8 ชนิด ไดแก ฟาทะลายโจร กระชาย ขมิ้นชัน ขิง มะขามปอม  ในการตานเชื้อไวรัส โดยสวนหนึ่งสามารถทําไดดวยการถอดรหัส
          กระเทียม สันพราหอม และสายนํ้าผึ้ง ที่มีประสิทธิภาพสูงกวา การแสดงออกของเซลลที่ไดรับสมุนไพรในระดับยีนส (Transcriptome)
          รอยละ 70 ในการตานการเพิ่มจํานวนของเชื้อไวรัสโคโรนาที่ ซึ่งเทคโนโลยีการวิเคราะหขั้นสูง  ประกอบดวยเทคโนโลยี
          กอโรคในสุกรซึ่งมีโครงสรางอนุภาคคลายกับ SARS-CoV-2  แสงซินโครตรอน และเทคโนโลยีโอมิกส (โปรติโอมิกสและ
          ที่เวลาทดสอบการสัมผัสเชื้อไวรัสเพียง 5 นาที และการทดสอบ เมตาโบโลมิกส) จะใหขอมูลขนาดใหญที่เปนขอมูลแบบองครวม
                                                              ของการติดตามเปลี่ยนแปลงสารชีวเคมีภายระดับเซลลทั้งหมด
                                                              ทั้งโปรตีนและสารโมเลกุลขนาดเล็กภายในเซลล ทําใหเกิดความ

                                                              เขาใจในกลไก หนาที่ และการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ ของสาร
                                                              ชีวโมเลกุลเหลานั้น และที่สําคัญคือขอมูลดังกลาวยังสามารถนํามาใช
                                                              เปนขอมูลในการพิจารณาการใชยาสมุนไพรไดอยางมีประสิทธิภาพ
                                                              ถูกตองและแมนยํา นําไปสูความปลอดภัยในการใชงานจริง และ
                                                              เปนแนวทางในการนําไปตอยอดพัฒนาเปนยาสมุนไพรที่ปลอดภัย
                                                              และเพิ่มมูลคาของสมุนไพรไทย เพื่อนํามาใชทางการแพทยได
                                                              ในอนาคตตอไป
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13