Page 14 - จดหมายข่าว วช 127.indd
P. 14

กิจกรรม วช.


                 วช. รวมก
                 วช. รวมก
                 วช. รวมก
                 วช. รวมก
                 วช. รวมกับ สผ. จัดประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย : ับ สผ. จัดประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย : ับ สผ. จัดประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย : ับ สผ. จัดประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย : ับ สผ. จัดประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย : ับ สผ. จัดประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย :
                 วช. รวมก
                               พัฒนาดัชนี SDG ของประเทศ
                               พัฒนาดัชนี SDG ของประเทศ
                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
          (อว.) รวมกับสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม (สผ.) กระทรวง
          ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ขับเคลื่อนความรวมมือทางวิชาการเพื่อเปาหมาย SDGs ในมิติ
          สิ่งแวดลอม เพื่อศึกษาสถานะของประเทศไทยทางดานเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติสิ่งแวดลอมตามตัวชี้วัดของ
          เปาหมาย 12, 13, 14 และ 15 จากการพิจารณาเปรียบเทียบกับสถานะของกลุมประเทศอาเซียน (ASEAN) กลุมความตกลง
          หุนสวนทางเศรษฐกิจระดับภูมิภาค (Regional Comprehensive Economic Partnership: RCEP) และระดับโลกระหวาง
          ตัวชี้วัดของเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติสิ่งแวดลอม และดําเนินงานภายใตโครงการเรื่อง “สถานะประเทศไทยจากดัชนีชี้วัดเปาหมายการพัฒนา
          ที่ยั่งยืน (SDGs Index)” โดยมี ผูชวยศาสตราจารย ดร.กาญจนา สงวัฒนา รองคณบดีฝายวิชาการและวิจัย คณะเศรษฐศาสตรและการลงทุน มหาวิทยาลัย
          กรุงเทพ เปนหัวหนาโครงการ สืบเนื่องจากผลจากการศึกษาเบื้องตนเกี่ยวกับระดับตัวชี้วัดในรายงาน SDGs Report 2021 พบวา SDG 12 และ SDG
          13 ของประเทศไทยอยูในสถานะมีความทาทายสําคัญยังคงอยู (สีสม) สวน SDG 14 และ SDG 15 ของประเทศไทย อยูในสถานะมีความทาทายมาก
          (สีแดง) จากการรายงาน SDGs Report ที่อาจมีความคาดเคลื่อนจากความเปนจริงในแตละประเทศ ดวยขอจํากัดของขอมูล ทําใหขอมูลในรายงาน
          อาจไมสามารถแสดงถึงสถานภาพจริงของแตละ SDG ของประเทศไทย จึงเปนที่มาของการประชุม Focus Group ประเด็นทาทาย : พัฒนาดัชนี SDGs
          ของประเทศในรูปแบบ Online Conference ผานโปรแกรม Zoom เปนเวลาสองวัน ไดแก วันที่ 4 ตุลาคม 2564 และวันที่ 7 ตุลาคม 2564 โดยมี
          ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ และนายประเสริฐ ศิรินภาพร รองเลขาธิการสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติ
          และสิ่งแวดลอม เปนประธานเปดการประชุมฯ
                                                    จากการประชุมทั้งสองวันไดมีขอสรุปโดยสังเขปเพื่อใหเกิดการยกระดับดัชนีชี้วัด
                                             เปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติสิ่งแวดลอม SDG 12, 13, 14 และ 15 วา ประเทศไทยควรให
                                             ความสําคัญกับขอมูลที่จะใชตอบเปาหมาย SDGs จึงควรมีการทบทวนขอมูลดังกลาว โดยอางอิง
                                             ตัวเลขจากหนวยงานที่มีความนาเชื่อถือ รวมทั้งควรเปน Unity เดียวกัน ซึ่งเสนอใหจัดทําเปน
                                             Metadata ของประเทศ โดยใชกลไกการวิจัยและนวัตกรรมชวยสนับสนุน ประกอบกับ
                                             ความรวมมือของทุกภาคสวนและการบูรณาการกันใหหลายหนวยงานรวมกันยกระดับสถานะ
                                             ของประเทศไทยทางดานเปาหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนในมิติสิ่งแวดลอม และขับเคลื่อนวาระการพัฒนา
                                             ที่ยั่งยืนจนบรรลุเปาหมาย นําไปสูการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน


                   วช. รวมกับ 4 ภาคีเครือขาย รวมพลัง GO GREEN เดินหนาสรางอากาศที่ดี
                   วช. รวมกับ 4 ภาคีเครือขาย รวมพลัง GO GREEN เดินหนาสรางอากาศที่ดี
                   เพื่อลมหายใจแหงอนาคตของคนไทย
                   เพื่อลมหายใจแหงอนาคตของคนไทย










                 วันที่ 29 กันยายน 2564 ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ นายบุญญนิตย
          วงศรักมิตร ผูวาการการไฟฟาฝายผลิตแหงประเทศไทย (กฟผ.), ศาสตราจารย ดร.สุพจน เตชวรสินสกุล คณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณ
          มหาวิทยาลัย, ศาสตราจารยคลินิก นายแพทยนิเวศน นันทจิต อธิการบดีมหาวิทยาลัยเชียงใหม และ นาวาอากาศเอก สมศักดิ์ ขาวสุวรรณ กรรมการ
          บริษัท โทรคมนาคมแหงชาติ จํากัด (มหาชน) รักษาการกรรมการผูจัดการใหญ รวมลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือ วาดวยความรวมมือ
          ในการใชประโยชนจากขอมูลและขยายเครือขายขอมูลตรวจวัดคุณภาพอากาศ เพื่อการบริหารจัดการคุณภาพอากาศและสิ่งแวดลอม โดยมีผูบริหาร
          ระดับสูงจากทั้ง 5 หนวยงาน รวมเปนพยาน เพื่อผนึกกําลังประกาศเจตนารมณมุงยกระดับการบริหารจัดการคุณภาพอากาศและสิ่งแวดลอมของประเทศ
          ตั้งเปาขยายและเชื่อมโยงเครือขายขอมูลตรวจวัดคุณภาพอากาศครอบคลุมทั่วประเทศ เพื่อพัฒนาฐานขอมูลในการเฝาระวังและเตือนภัยสถานการณ
          PM2.5 แกประชาชนอยางตอเนื่องในภาพรวมของประเทศไทย
                 ภายในงานมีการเสวนาภายใตหัวขอ “นวัตกรรมชวยลดโลกรวน #รวมพลังเพื่อลมหายใจแหงอนาคต” โดยไดรับเกียรติจากผูทรงคุณวุฒิ
          ที่มีความเชี่ยวชาญและมีประสบการณอยูในแวดวงดานคุณภาพอากาศและสิ่งแวดลอมมาอยางยาวนาน ไดแก ศาสตราจารย ดร.พิสุทธิ์ เพียรมนกุล
          รองคณบดีคณะวิศวกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ดร.วงกต วิจักขณสังสิทธิ์ รองกรรมการผูจัดการใหญสายงานดิจิทัล บริษัท โทรคมนาคม
          แหงชาติ จํากัด (มหาชน) ผูชวยศาสตราจารย ดร.ธนพล เพ็ญรัตน ผูเชี่ยวชาญระดับสูง สํานักงานคณะกรรมการสงเสริมวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
          (สกสว.) และคณะอนุกรรมาธิการสภาฯ ดานแกไขปญหา PM2.5 ดร.นณธภัทร ธีระวรรธนะสิริ นักวิชาการสาธารณสุขชํานาญการ กลุมพัฒนาอนามัย
          สิ่งแวดลอม ศูนยอนามัยที่ 1 เชียงใหม และ ดร.จิราพร ศิริคํา รองผูวาการยุทธศาสตร กฟผ. มารวมแชรประสบการณ พรอมอัพเดทขอมูลนวัตกรรม
          และแพลตฟอรมรูปแบบใหม ๆ รวมถึงทิศทางการแกปญหามลพิษทางอากาศ เพื่อใหประชาชนไดเตรียมพรอมรับมือ และรวมพลังในทุกภาคสวน
          รวมพัฒนาคุณภาพอากาศและสิ่งแวดลอม สรางอากาศบริสุทธิ์ เพื่อสุขภาวะที่ดีของคนไทย
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16