Page 11 - จดหมายข่าว วช 127.indd
P. 11

งานวิจัย : การแพทย


          “เตียงพลิกตะแคง ป‡องกันแผลกดทับ” นวัตกรรมทางการแพทย  นวัตกรรมทางการแพทย  นวัตกรรมทางการแพทย  นวัตกรรมทางการแพทย


                 จากฝมือนักวิจัยไทย เทียบชั้นนวัตกรรมการแพทยระดับโลก
                 จากฝมือนักวิจัยไทย เทียบชั้นนวัตกรรมการแพทยระดับโลก
                 จากฝมือนักวิจัยไทย เทียบชั้นนวัตกรรมการแพทยระดับโลก














                 ประเทศไทยมีผูปวยอัมพาตเพิ่มขึ้นปละราว 1 แสนคน  ไดสนับสนุนทุนวิจัยตอยอดเพื่อติดตั้ง Software Smart Bed ทําให

          ในแตละปตองใชงบประมาณดานสาธารณสุขจํานวนมาก การดูแล สามารถตั้งเวลาควบคุมเตียงไดแบบออรโตเมติก และยังมีระบบ
          ผูปวยอัมพาตจําเปนตองพลิกตัวเปนประจําทุก 1 - 2 ชั่วโมง เพื่อ Central Control สามารถควบคุมเตียงหลาย ๆ เตียงผานทาง
          ปองกันการเกิดแผลกดทับ ซึ่งการดูแลผูปวยในเรื่องนี้ตองเสียเวลา หนาจอเดียว เพื่อลดภาระของพยาบาลที่ตองดูแลผูปวยหลายเตียง
          และแรงงานของพยาบาล หรือญาติผูปวยไมนอย เพราะหากไมทํา ในเวลาเดียวกันในชวงการระบาดโควิด-19 ทางผูวิจัยคาดวา
          แรงดันกดทับและความชื้นสะสมจากการที่อยูในตําแหนงเดิม ทําให เตียงพลิกตะแคงพรอม Software Smart Bed จะสามารถชวย
          เกิดแผลกดทับได และยิ่งผูปวยเปนโรคเบาหวานดวยแลวหากเกิด พยาบาลในการพลิกควํ่าผูปวยโควิด-19 เพื่อชวยใหหายใจไดงายขึ้น
          แผลกดทับ แผลนั้นจะลุกลามไดรวดเร็วและรักษายากมากยิ่งขึ้น  ทําใหสามารถลดจํานวนพยาบาลที่ตองเสี่ยงเขาไปดูแลผูปวยได

                 ดวยตระหนักถึงความทรมานของผูปวยที่เปนแผลกดทับ    ซึ่งขณะนี้ทางทีมนักวิจัยไดพัฒนาคอนโทรลเลอรและ
          และภาระของผูดูแลทั้งญาติและพยาบาล  ผูชวยศาสตราจารย  Software เพื่อใหไดมาตรฐานเครื่องมือแพทยและ Software
          แพทยหญิงนลินี  โกวิทวนาวงษ  แหงภาควิชาวิสัญญีวิทยา  ทางการแพทยในระดับสากล เพื่อใหสามารถใชในหอผูปวยวิกฤต
          คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร จึงไดริเริ่ม หรือ โรงพยาบาลระดับจตุตถภูมิ (ระดับโรงพยาบาลศูนย หรือ
          จัดทําโครงการวิจัย “เตียงพลิกตัวและวัสดุรองรับสําหรับผูปวยที่ โรงเรียนแพทย) ได โดยทาง วช. ไดใหทุนวิจัยเพิ่มเติมเพื่อเพิ่ม
          ชวยเหลือตัวเองไมได” ซึ่งปจจุบันจะมีอุปกรณชวยในการพยุงตัว ศักยภาพในการแขงขันกับสินคานําเขา และในอนาคตจะสามารถ
          ผูปวยและลดปญหาแผลกดทับจํานวนหนึ่ง แตยังไมพบรูปแบบเตียง ขยายตลาดไปยังตางประเทศไดอีกดวย
          ที่มีประสิทธิภาพ  ที่สามารถดูแลผูปวยติดเตียงไดอยางมี   ผลงานวิจัยนี้ ถือวาเปนงานวิจัยประดิษฐคิดคนที่เปน
          ประสิทธิภาพ และจากการดมยาสลบเพื่อผาตัดใหกับผูปวยพบวา ความรวมมือระหวางนักวิจัยซึ่งเปนแพทยกับอาชีวศึกษา

          ปญหาแผลกดทับในหองผาตัดเกิดขึ้นไดถึง 12% คนไขมีแผล ที่รวมกันวิจัยพัฒนานวัตกรรมทางการแพทยที่จะชวยดูแลผูปวย
          ผาตัดแลวไมควรมีแผลที่อื่นอีก นักวิจัยจึงพยายามคิดคนวัสดุ ที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองได ซึ่งจะอํานวยความสะดวกและ
          ที่จะชวยกระจายแรง ประกอบกับประเทศไทยอยูในพื้นที่ที่มีการ ชวยลดภาระของพยาบาลหรือญาติผูปวยทั้งที่โรงพยาบาลและ
          ปลูกยางพาราจํานวนมากจึงนํายางพารามาปรับโมเลกุลเพื่อใหมี ที่บาน  ซึ่งสอดรับกับสถานการณปจจุบันและอนาคตของ
          คุณสมบัติการกระจายแรง เพื่อปองกันการเกิดแผลกดทับได จึงเกิด ประเทศไทยที่กําลังกาวสูสังคมผูสูงวัย และจะมีจํานวนผูปวย
          เปนผลิตภัณฑ “Doctor N Medigel” เจลยางพาราเพื่อปองกัน ที่เปนผูสูงอายุที่ไมสามารถชวยเหลือตัวเองไดมากขึ้น ซึ่งความสําเร็จ
          แผลกดทับ และใชจัดทาผูปวยในหองผาตัด จากนั้นนักวิจัยจึงได ของผลงานวิจัยนี้ แสดงถึงความรวมมือของนักวิจัยไทย สามารถ

          ทําวิจัยตอเนื่องรวมกับอาจารยสมคิด สมนักพงษ แหงวิทยาลัย ทําใหเกิดนวัตกรรมทางการแพทยเทียบชั้นเครื่องมือทางการแพทย
          เทคนิคกําแพงเพชร รวมพัฒนาคิดคนและออกแบบเตียงสําหรับ ระดับโลกได
          ผูปวยอัมพาตและปองกันแผลกดทับ หลอมรวมความเปน Dynamic
          Support Surface ของเตียงในการพลิกเปลี่ยนจุดกด กับ Static
          Support Surface ของเบาะเจลยางพารา ทําใหประสิทธิภาพ
          ในการปองกันแผลกดทับมีสูงขึ้น และที่สําคัญสามารถผอนแรง
          ของผูดูแลในการยกตัวเพื่อพลิกตะแคงซึ่งปกติตองใชคน 2 - 3 คน
          แตหากใชเตียงนี้จะใชคนเพียงคนเดียวสามารถพลิกตะแคง
          ตัวผูปวยไดอยางสบาย ซึ่งสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)

         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16