Page 8 - จดหมายข่าว วช 127.indd
P. 8

62 ป วช. นํางานวิจัย “นวัตกรรมเซนเซอรฉลาด


                                        สําหรับตรวจวัดสารปนเป„œอน

                                     ในอาหารและสิ่งแวดลŒอม” มาโชว




                 วันที่ 28 ตุลาคม 2564 สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.)  เปนอุปกรณตรวจวัดสารปนเปอน ซัลไฟด และไซยาไนด โดยอาศัย
          กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.)  ปฏิกิริยาเฉพาะเจาะจง และมีอุปกรณ Sample Holder ที่ออกแบบใหม
          จัดแถลงข‹าว “NRCT Talk : 62 ป‚ วช. นวัตกรรมรักษโลก” โชว “นวัตกรรม เปน “Novel Sample Holder” เพื่อหนีบกับสมารทโฟน และใช
          เซนเซอรฉลาดสําหรับตรวจวัดสารปนเป„œอนในอาหารและสิ่งแวดลŒอม”  แอปพลิเคชันในการหาปริมาณสารในอาหาร นอกจากนี้ นวัตกรรม
          หนึ่งในนวัตกรรมที่ไดŒรับรางวัลการวิจัยแห‹งชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐ ดังกลาวยังตรวจวัดปริมาณซัลไฟตในอาหาร ตรวจวัดปริมาณ
          คิดคŒน ระดับรางวัลประกาศเกียรติคุณ ประจําป‚ 2564 โดยมี ศาสตราจารย ไซยาไนดในนํ้าดื่ม ตรวจวัดทีเอ็นทีในดิน รวมทั้งในเสื้อผา พื้นผิวตาง ๆ
          กิตติคุณ นายแพทยสุทธิพร จิตตมิตรภาพ ประธานกรรมการส‹งเสริม และตรวจวัดไนไตรตในตัวอยาง ซึ่งจะเปนเครื่องมืออยางงายให
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ใหŒเกียรติกล‹าวนํา และ ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง  ผูประกอบการ หรือใหผูบริโภคใชตรวจสอบปองกันสารอันตราย
          ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ เปšนประธานเปดงาน  ตอรางกาย โดยผลที่ไดเมื่อเทียบเคียงกับวิธีทดสอบที่ใชอยูในปจจุบัน
                 งานแถลงขาว “NRCT Talk : 62 ป วช. นวัตกรรมรักษโลก” สามารถใหผลแมนยําเชนกัน
          มีวัตถุประสงคเพื่อเชิดชูนักประดิษฐที่สรางสรรคผลงานที่เปน  การใชงานของ “นวัตกรรมเซนเซอรฉลาดสําหรับตรวจวัด
          ประโยชนตอสังคมและประเทศชาติ สรางคุณูปการใหกับวงวิชาการ สารปนเปอนในอาหารและสิ่งแวดลอม” โดยการนําเซนเซอรฉลาด
          และประเทศชาติ รวมทั้งเปนรางวัลที่สงเสริมการสรางแรงจูงใจ ที่ออกแบบไปหนีบบนสมารทโฟนไดทั้งแนวตั้งและแนวขวาง
          ของนักประดิษฐ และนักวิจัยในอันที่จะพัฒนานวัตกรรมทางความคิด  กลองอยูริมหรืออยูกลางก็สามารถใชงานได สามารถประมวลผล
          และภูมิปญญาที่เปนประโยชน สรางความกาวหนาในศาสตรแขนงตาง ๆ  เปนปริมาณสาร พรอมชุดทดสอบสารตาง ๆ บนแพลตฟอรมของ
          ซึ่งนวัตกรรมเซนเซอรฉลาดสําหรับตรวจวัดสารปนเปอนในอาหาร สําลีกานเพื่อชวยลดการรบกวนจากสารอื่น ๆ ในตัวอยางโดยเฉพาะ
          และสิ่งแวดลอม ผลงานของ รองศาสตราจารย ดร.นภาพร ยังวิเศษ  เมื่อใชรวมกับเทคนิค Headspace Microextraction โดยสารที่สนใจ
          คณะวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต  ถูกเปลี่ยนใหอยูในรูปแกสและขึ้นไปจับกับรีเอเจนตเฉพาะในสําลีกาน
          ไดรับรางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ระดับรางวัลประกาศเกียรติคุณ  ที่แขวนเหนือสารตัวอยาง และเมื่อนําไปใสใน Sample Holder
          ประจําป 2564 ซึ่งนวัตกรรมดังกลาว นักประดิษฐมีความคิดเห็นวา ที่หนีบติดกับกลองสมารทโฟน จากนั้นแอปพลิเคชันจะถายภาพและ
          อาหารการกินเปนเรื่องสําคัญที่จะสงผลตอรางกายของผูบริโภคได  แปลงขอมูลเปนความเขมขน โดยเทียบกับกราฟมาตรฐานที่เก็บไว
          จึงไดอุทิศตนเพื่อประดิษฐคิดคน “นวัตกรรมเซนเซอรฉลาดสําหรับ  นอกจากนี้ ตัว Sample Holder มีจุดเดนคือ สามารถ
          ตรวจวัดสารปนเปอนในอาหารและสิ่งแวดลอม” ขึ้น โดยนวัตกรรม ใชไดกับสมารทโฟนหลายรุน และหลายยี่หอ เนื่องจากออกแบบเปน
          เซนเซอรฉลาดสําหรับตรวจวัดสารปนเปอนในอาหารและสิ่งแวดลอม  แบบหนีบมีขนาดเล็ก ตัว Sample Holder มีเลนสชวยเพื่อลดระยะหาง
                                                              ระหวางตัวอยางที่ถายกับกลอง เพื่อทําใหอุปกรณมีขนาดเล็กลง
                                                              มี LED white light เพื่อชวยใหแสงในการถายภาพ ซึ่ง Sample
                                                              Holder ยังสามารถประยุกตใชกับการถายสารละลายใน Cuvette
                                                              โดยออกแบบที่ใส Cuvette และ Vial ไวดวย
                                                                     โดยงานวิจัยคุณภาพจะนําไปใชชวยยกระดับคุณภาพ
                                                              ลดรายจาย และเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจ และจะชวยใหเปดโอกาส
                                                              ในตลาดโลก ลดปญหาการกีดกันทางการคาไดอยางมีประสิทธิภาพ


                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13