Page 13 - จดหมายข่าว วช 133
P. 13
นวัตกรรม : ศิลปวัฒนธรรม
กี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทยี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทยี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทยี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทยี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทย
ก ก ก ก
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มอบรางวัล
การวิจัยแหงชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐคิดคน รางวัลระดับดีมาก สาขาวิศวกรรมศาสตรและอุตสาหกรรม ประจําป 2565
ใหแก ผูชวยศาสตราจารยเกสร วงศเกษม และคณะ แหง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จากผลงาน “กี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษ
ผายกไทย” ในงานวันนักประดิษฐ ประจําป 2564 - 2565 โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง
การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนประธานมอบรางวัล
ผูชวยศาสตราจารยเกสร วงศเกษม หัวหนาโครงการ สําหรับกี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทย ไดนําเอา
ผลงานนวัตกรรม “กี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเพื่ออนุรักษผายกไทย” เทคโนโลยีกับอัตลักษณความเปนไทยมาประยุกตเขาดวยกัน
ไดสรุปวา การทอผา ถือเปนศิลปะและหัตถกรรมหรืองานฝมืออยางหนึ่ง เพื่อชวยแกปญหาในการทอผายก อันเปนศิลปะการทอขั้นสูง
ที่มีมาตั้งแตสมัยโบราณ โดยผาที่ทอดวยลวดลายที่แสดงถึง ของไทย และอนุรักษใหคงอยู โดยใชอุปกรณควบคุมกลไกการ
ภูมิปญญาและทักษะของผูทอ ไดแก “ผายก” ซึ่งเปนผาที่ทอ ทําใหเกิดลวดลายบนผืนผา และผูใชสามารถเพิ่มลวดลายที่เปน
ไดยากและมีเอกลักษณ ทําใหผายกนี้เปรียบเสมือนงานศิลปะ อัตลักษณไดเองตามที่ตองการ การใชงานยังคงวิถีการทอแบบ
หรืองานหัตถกรรม ราคาของผาทอยกเหลานี้จะมีราคาสูง เมื่อเทียบ ดั้งเดิม นอกจากนี้ยังชวยลดแรงงานจากแตเดิมตองทอ 2 - 3 คน
กับการทอดวยวิธีอื่น โดยปกติแลวผายกที่เปนผาฝายจะมีราคา ใหเหลือเพียงคนเดียว ทําใหสามารถเพิ่มอัตราการทอได 2.5 เทา
ขั้นตํ่า ผืนละ 6,000 บาท แตหากมีลวดลายซับซอนหรือทําจาก เมื่อเทียบการทอในลายเดียวกัน ไมมีลายผาผิดพลาด ยิ่งไปกวานั้น
เสนไหมหรือดิ้นเงินดิ้นทองแลวราคาจะสูงกวา 15,000 บาทตอผืน ยังเหมาะกับทุกวัย โดยเฉพาะคนรุนใหมที่ไมมีทักษะก็สามารถ
แตในขณะเดียวกัน ดวยอัตราการผลิตที่ตํ่า ทําใหผูทอไมสามารถ ทอได คนสูงอายุที่ไมมีกําลังขา แมแตคนพิการทางขาก็สามารถ
ผลิตไดตามความตองการของลูกคา เนื่องจากมีปญหาทั้งดาน ใชเครื่องทอนี้ไดเชนกัน
แรงงาน ทักษะ ตลอดจนแรงจูงใจในการทอ งานทอผายกนี้ โดยในสวนของลวดลายหากมีการบันทึกลายทอมากกวา
นับวันยิ่งมีคนสืบทอดนอยลง เพราะกวาจะไดเงินคาตอบแทน 500 ลวดลาย ปจจุบันกี่ทอผากึ่งอัตโนมัติไดนําไปใชงานในพื้นที่
ในการทอแตละผืนตองใชเวลานานและยังเปนงานที่ทํายากดวย ชุมชนทอผาบานนาโปรง จังหวัดอุดรธานี และชุมชนทอผาบานนา
ผูทอจึงเลือกที่จะทอผาแบบเรียบแทน สะแบง จังหวัดยโสธร ซึ่งทางวิสาหกิจชุมชนทั้งสองแหงไดใหการ
จากปญหาที่กลาวมาจึงเกิดแนวคิดในการออกแบบและ ตอบรับผลสําเร็จของกี่ทอผากึ่งอัตโนมัติเปนอยางดี มียอดการ
สรางกี่ทอผากึ่งอัตโนมัติสําหรับทอผายกขึ้น กี่ทอผานี้มีการควบคุม ผลิตผายกเพิ่มขึ้นถึง 500 หนวยตอป คิดเปนผลกําไรที่เพิ่มขึ้น
ดวย PLC และมีหนวยความจําที่สามารถชวยจดจําและบรรจุ ตอปประมาณ 2,800,000 บาท โดยมีการจางแรงงานในระดับ
ลายผาได เพิ่มอัตราการทอ ลดแรงงานในการทอผา ทําใหการ แรงงานเพิ่มขึ้น 2 คน นอกจากนั้น ยังสามารถประเมินความสําเร็จ
ทอผายกเปนเรื่องงายขึ้น เพื่อใหผูที่ไมมีทักษะทอได ทําใหชุมชน ดานธุรกิจไดในระดับมากที่สุดอีกดวย
มีรายไดเพิ่มขึ้น มีความภูมิใจในการอนุรักษศิลปะการทอ
ที่มีอัตลักษณทองถิ่น อันเปนการพัฒนาชุมชนที่ยั่งยืน
ผูที่สนใจสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่ :
ผูชวยศาสตราจารยเกสร วงศเกษม แหง มหาวิทยาลัยมหาสารคาม โทรศัพท 06 5536 1479
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 13