Page 15 - จดหมายข่าว วช 134
P. 15

กิจกรรม วช.



           วช. ร‹วมขับเคลื่อนการพัฒนาดŒานสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตร

                      ของประเทศ ถ‹ายทอดองคความรูŒมรดกทางวัฒนธรรมแก‹คนรุ‹นใหม‹
















                 สํานักงานปลัดกระทรวง
          การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
          ร‹วมกับ  สํานักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม  โดย
          สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ และ กรมศิลปากร ลงนามความร‹วมมือ
          ขับเคลื่อนการพัฒนาดŒานสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตร
          ของประเทศ โดยมี ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ ทรงศิวิไล
          ปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม พรŒอมดŒวย
          นางยุพา ทวีวัฒนะกิจบวร ปลัดกระทรวงวัฒนธรรม ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง   ซึ่งถือวาเปนจุดแข็งของประเทศไทยในดานการพัฒนาและการนําไปใช
          ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ และ นายกิตติพันธ พานสุวรรณ   ประโยชนและการขับเคลื่อนกลไก โดย วิทยสถานสังคมศาสตร
          อธิบดีกรมศิลปากร ร‹วมลงนามขับเคลื่อนการพัฒนาดังกล‹าว เพื่อร‹วมมือกัน  มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตรแหงประเทศไทย หรือมีชื่อเรียกวา
          ดําเนินการทางวิชาการและการส‹งเสริม ขับเคลื่อนโครงการกิจกรรมต‹าง ๆ   “ธัชชา” ภายใตการดําเนินงานของธัชชา ประกอบไปดวย 5 องคประกอบ
          ภายใตŒกรอบ “โครงการขับเคลื่อนการพัฒนาดŒานสังคมศาสตร มนุษยศาสตร   ดังนี้ ประวัติศาสตรไทย 1) สุวรรณภูมิศึกษา โดยหัวใจหลักคือ
          และศิลปกรรมศาสตรของประเทศ” ของทั้ง 4 หน‹วยงาน ในการนําองคความรูŒ   เพื่อใหเขาใจประวัติศาสตรไทยยอนหลังกอน 2) โลกคดีศึกษา
          ขŒอมูลทางวิชาการ พื้นที่วิจัย เทคโนโลยี และขับเคลื่อนการวิจัยสาขา  เพื่อทําความเขาใจบริบทของไทยในโลก 3) ชางศิลปทองถิ่น เรามี
          มนุษยศาสตร สังคมศาสตร วัฒนธรรมและศิลปกรรมศาสตร รวมถึงการ  ศิลปกรรมทองถิ่นมากมาย แตละทองถิ่นจะมีเอกลักษณเฉพาะตัว
          ส‹งเสริมและสนับสนุนงานวิจัยและวิชาการ พัฒนาและต‹อยอด องคความรูŒ  รวมถึงการสืบสาน รักษาไว ใหอยูคูกับประเทศไทย 4) พิพิธภัณฑ
          ใหŒครอบคลุมกลุ‹มเป‡าหมายที่หลากหลายอย‹างเปšนรูปธรรม และทําใหŒเกิดงาน  ศิลปกรรมแหงชาติ ในการสรางมูลคาเพิ่มใหกับงานศิลปะ อารยะ สุนทรียะ
          วิจัยที่มีผลสัมฤทธิ์ในวงกวŒาง นําไปสู‹การถ‹ายทอดองคความรูŒและภูมิป˜ญญา   และ 5) เศรษฐกิจพอเพียง ขับเคลื่อนเพื่อที่จะนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
          นําไปสู‹การสรŒางความภาคภูมิใจในรากเหงŒาของคนในทŒองถิ่น   พอเพียงของรัชกาลที่ 9 ใหเปนที่ประจักษในวงวิชาการโลก และนําไป
                 ซึ่งเปนการบูรณาการความรวมมือของกระทรวงการ  ปรับใชในการใชชีวิตประจําวันเพื่อใหเกิดความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
          อุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) และกระทรวง    สําหรับการดําเนินงานดานสังคมศาสตรและศิลปกรรมศาสตร
          วัฒนธรรม (วธ.) ในครั้งนี้ เปนสวนสําคัญของประเทศที่จะเปนการขับเคลื่อน  ไดรับการสนับสนุนจากสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ในการ
          กลไกที่สําคัญของประเทศในดานศาสตรและศิลป ซึ่งเปนจุดแข็ง  ขับเคลื่อนกลไก รวมทั้งกระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งถือเปนหนวยหลัก
          ของประเทศไทย ที่จะนําไปสูการพัฒนาของประเทศอยางมั่นคง และ  และมีความสําคัญในการพัฒนาและขับเคลื่อนเพื่อนําไปใชประโยชน
          ยั่งยืน ซึ่งหัวใจหลักในการขับเคลื่อนในครั้งนี้ คือการที่ประเทศไทย  ในการพัฒนาคุณคาทางสังคมศาสตรในประเทศตอไป
          มีโครงสรางและกําลังคนที่ดี และมีพื้นฐานความรูตอประวัติศาสตร   บันทึกขอตกลงความรวมมือการขับเคลื่อนการพัฒนาดาน
          มีความภาคภูมิใจและเขาใจรากเหงาของความเปนไทย รวมถึงเขาใจ  สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตร ของทั้ง 4 ฝาย
          ทิศทางของประเทศตอไปในอนาคต ทั้งนี้ การขับเคลื่อนทั้งศาสตร  เปนการบูรณาการความรวมมือในดานการแลกเปลี่ยนบุคลากรดาน
          และศิลปในดานวัฒนธรรมของไทยอยูในลําดับตน ๆ ในเวทีระดับโลก   สังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตรของประเทศ
                                                              อีกทั้งยังเปนการสรางความรวมมือการวิจัยในแตละสาขาของหนวยงาน
                                                              ภายในประเทศและหนวยงานตางประเทศ เปนการเชื่อมโยงองคความรู
                                                              และตอยอด รวมทั้งการอนุรักษความเปนทองถิ่น การฟนฟูชุมชน
                                                              เพื่อนําไปสูการถายทอดองคความรูตอไป โดยบันทึกขอตกลงไดทําขึ้น
                                                              มีระยะเวลา 5 ป ซึ่งเริ่มลงนามเมื่อวันที่ 3 มีนาคม 2565 โดยจะมี
                                                              การทบทวน และขยายความรวมมือในทุกภาคสวน ซึ่งจะกอใหเกิด
                                                              การบูรณาการระหวางกระทรวง อว. และกระทรวง วธ. ในการขับเคลื่อน
                                                              การพัฒนาดานสังคมศาสตร มนุษยศาสตร และศิลปกรรมศาสตร
                                                              อยางเปนรูปธรรม และเกิดประโยชนกับประเทศชาติตอไป
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16