Page 6 - จดหมายข่าว วช 134
P. 6
นวัตกรรม : การเกษตร
“การทําวัคซีนปลาแบบไรเข็ม” ปองกันโรคระบาดใหปลาเศรษฐกิจ
ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดรับรางวัลเวทีนานาชาติ
ผลงานนวัตกรรม “การทําวัคซีนปลา อนุภาคนาโน แตทวายังสามารถเกาะติดเยื่อเมือกของปลาเพื่อกระตุนใหปลา
แบบไรเข็ม” ไดรับรางวัลการประกวดในเวทีนานาชาติ สรางภูมิคุมกันเฉพาะขึ้นเพื่อตานทานการกอโรคของเชื้อแบคทีเรียนี้ได
หลายเวที อาทิ รางวัล GRAND PRIZE จากเวที Seoul International เปนอยางดี เนื่องจากมีการเคลือบอีกชั้นดวยอนุภาคนาโนที่สกัดจากสาร
Invention Fair 2021 (SIIF 2021) ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี รางวัล ธรรมชาติ เชน ไขมัน และเพอลิเมอรจากธรรมชาติ ซึ่งอนุภาคนาโนเหลานี้
nd
GOLD MEDAL จากเวที The 32 International Invention, Innovation จะเปนตัวหอหุมแบคทีเรียที่ตายแลว อนุภาคของวัคซีนมีคุณสมบัติ
& Technology Exhibition (ITEX 2021) ณ กรุงกัวลาลัมเปอร เขาเกาะติดเยื่อเมือกเลียนแบบการกอโรคของเชื้อแบคทีเรียฟลาโว
ประเทศมาเลเซีย รางวัล SILVER MEDAL จากงาน 2021 Kaohsiung แบคทีเรียม คอลัมแนร นั้น เมื่อนําปลาไปแชวัคซีน วัคซีนก็จะเกาะติด
International Invention & Design Expo (KIDE) ณ เมืองเกาสง ที่เยื่อเมือกของปลา และดูดซึมผานเยื่อเมือกได การทําวัคซีนชนิดนี้
th
ไตหวัน รางวัล GOLD MEDAL จากเวที The 9 Macao International มีขอดีคือเปนวัคซีนแบบไรเข็ม (Needle-Free Vaccination)
Innovation and Invention Expo (MiiEX) ณ เขตบริหารพิเศษมาเกา ที่ใชไดกับปลาทุกขนาดตั้งแตขนาดเล็กมาก ๆ ใชเพียงการจุมแชตัวปลา
แหงสาธารณรัฐประชาชนจีน โดยทุกเวทีไดรับการสนับสนุนจากสํานักงาน ในระยะเวลาสั้น ๆ ประมาณ 30 นาที แลวปลอยปลาลงไปในนํ้า
การวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและ ที่ใชเลี้ยงปกติ หลังจากนั้นปลาจะคอย ๆ สรางภูมิคุมกันที่เฉพาะเจาะจง
นวัตกรรม (อว.) ตอการติดเชื้อแบคทีเรียฟลาโวแบคทีเรียม คอลัมแนรขึ้นไดนาน
โดย รองศาสตราจารย นายสัตวแพทย ดร.ชาญณรงค รอดคํา ประมาณ 2 - 3 เดือน และมีอัตราการรอดชีวิตสูงมากกวารอยละ 60
แหง คณะสัตวแพทยศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย หัวหนาโครงการ เมื่อมีการติดเชื้อดังกลาว ดังนั้น วัคซีนนี้จึงเปนวัคซีนที่ลดขอเสีย ขอจํากัด
วิจัย ไดคิดคนนวัตกรรม “การทําวัคซีนปลาแบบไรเข็ม” ปองกัน หรือความไมสะดวกตาง ๆ ที่เกิดจากการที่ตองทําวัคซีนแบบฉีดแบบเดิม ๆ
โรคระบาดสําคัญใหปลาไดอยางมีประสิทธิภาพ ลดตนทุนในการผลิต ใหแกปลาลงได อาทิ วัคซีนแบบฉีดทําไดเมื่อปลามีขนาดใหญพอสมควร
ปลาเศรษฐกิจ ลดการใชยาและสารเคมีตาง ๆ ในกระบวนการเลี้ยง เทานั้น กอนฉีดวัคซีนตองมีการวางยาสลบใหปลากอน ตองใชผูที่มี
และชวยเพิ่มมูลคาทางเศรษฐกิจใหแกอุตสาหกรรมการเลี้ยงปลา ความชํานาญในการฉีดวัคซีน ขั้นตอนในการฉีดและอุปกรณตาง ๆ มีความ
เศรษฐกิจได ซึ่งนักวิจัยไดสรุปโครงการวิจัยวา ปญหาโรคคอลัมนาริส ยุงยาก และปลาอาจเกิดการติดเชื้อหรือบาดเจ็บจากบริเวณที่ฉีดวัคซีนได
หรือโรคเหงือกเนา เกิดจากเชื้อฟลาโวแบคทีเรียม คอลัมแนร เปน ซึ่งวัคซีนแชนาโนแบบเกาะติดเยื่อเมือกตานโรคเหงือกเนาในปลา
โรคระบาดในปลานํ้าจืดที่เปนปญหาที่สําคัญมาก โดยเฉพาะอยางยิ่ง เปนวัคซีนที่ใชงานงายมีประสิทธิภาพสูงในการปองกันโรคเหงือกเนา
ในปลานิล ซึ่งเปนปลาเศรษฐกิจชนิดหนึ่งที่สําคัญของประเทศไทย ซึ่งมีการทดสอบแลวทั้งในระดับหองปฏิบัติการและภาคสนามกับ
ที่ประชาชนนิยมบริโภคกันเปนจํานวนมาก โรคนี้สามารถเกิดกับปลาได ฟารมเลี้ยงปลา โดยวัคซีนผสมกับนํ้าในอัตราสวนที่กําหนด และ
ตั้งแตปลาเพิ่งฟกออกจากไขไดไมนาน หรือปลาที่มีขนาดเล็กมาก หรือ นําปลาลงไปแช ประมาณ 15 - 30 นาที ซึ่งถาหากตองการทําวัคซีน
แมกระทั่งปลาที่มีขนาดใหญแลว กอใหเกิดอัตราการตายไดสูงมากกวา ใหแกปลาขนาดประมาณ 1 - 5 กรัม การใชวัคซีน 1 ลิตร จะสามารถ
รอยละ 70 อาการของโรคคอลัมนาริสที่เกษตรกรจะสังเกตุเห็นจาก ทําวัคซีนใหแกปลาไดมากถึง 100,000 - 200,000 ตัวเลยทีเดียว ตนทุน
ตัวปลาไดงาย ๆ ดวยตนเองคือการอักเสบของเหงือกแบบรุนแรงและ ของการทําวัคซีนนี้ถือวาถูกมากคือไมถึง 50 สตางคตอลูกปลา 1 ตัว
มีเนื้อตายสีคลายสนิมที่เนื้อเยื่อเหงือก และอาจพบที่บริเวณครีบหรือ ซึ่งถือวาเปนความสะดวก ประหยัด ลดตนทุนในการผลิตปลาใหแก
ลําตัวไดดวย เมื่อเกิดปญหาจากโรคนี้ขึ้นแลวเกษตรกรผูเลี้ยงปลามัก เกษตรกร และปลอดภัยคอนขางมากกับการทําวัคซีนปลาในระดับ
มีการใชยาปฏิชีวนะและสารเคมีในการควบคุมและรักษาโรค แตก็ อุตสาหกรรม จากการนําวัคซีนตนแบบไปใชในการเลี้ยงปลานิลระดับ
ใหผลไมเปนที่นาพอใจนักและยังคงมีความเสียหายอยูคอนขางมาก อุตสาหกรรมสามารถลดความเสียหายและเพิ่มอัตราการรอดของ
จากปญหาดังกลาวทางคณะผูวิจัยจึงไดมีแนวคิดที่จะพัฒนาวัคซีน ปลานิลจากภาวะเหงือกเนาไดอยางเปนที่นาพอใจ องคความรูจาก
ปองกันโรคนี้ใหปลา โดยวัคซีนจะพัฒนามาจากเชื้อแบคทีเรียที่แยกได นวัตกรรมนาโนวัคซีนแบบเกาะติดเยื่อเมือกนี้กําลังตอยอดและ
จากทองถิ่นในประเทศไทยเอง นําเชื้อมาทําใหตายและกลายเปน ขยายผลตอไปยังการทําวัคซีนในรูปแบบใหกินเปนอาหาร และนาโนวัคซีน
แบบเกาะติดเยื่อเมือกเพื่อปองกันโรคติดเชื้อแบคทีเรียและไวรัสตาง ๆ
ที่สําคัญสําหรับปลานิลและปลาเศรษฐกิจชนิดอื่น ๆ เชน วัคซีน
ปองกันโรคติดเชื้อแบคทีเรียแอโรโมนาส เวโรนิไอ วัคซีนปองกัน
โรคติดเชื้อแบคทีเรียฟรานซิสเซลลา และวัคซีนปองกันโรคเกล็ดรวง
จากไวรัส SDDV ในปลากะพงขาว เปนตน
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
6 National Research Council of Thailand (NRCT)