Page 8 - จดหมายข่าว วช 134
P. 8

งานวิจัย : การแพทย
                                              พยาธิสรีรวิทยาทางประสาทของการเรียนรู


                                           และความจําในภาวะอวนจากระดับเซลลถึงผูปวย
















                 หนึ่งในภัยเงียบดŒานสุขภาพที่คุกคามคนไทยคือ ภาวะอŒวน การลดภาวะการเสียสมดุลของแบคทีเรียในลําไส ควรจะให
          ลงพุง โดยป˜จจุบัน 1 ใน 3 ของประชากรไทยซึ่งอายุมากกว‹า 35 ป‚ ผลประโยชนในการปองกันการทํางานที่ผิดปกติของสมอง และ
          ขึ้นไปเปšนภาวะอŒวนลงพุง สาเหตุมาจากพฤติกรรมการบริโภคอาหาร การบกพรองของการเรียนรูและความจํา ในภาวะอวนลงพุง
          และมีกิจกรรมทางกายไม‹เพียงพอ โดยเฉพาะคนวัยทํางานซึ่งมักจะนั่ง  ผลการศึกษาวิจัยแสดงใหเห็นวา มีการปรับเปลี่ยนภาวะอวน
          ติดต‹อกันเกิน 2 ชั่วโมง และมีความเครียด  ศาสตราจารย (เชี่ยวชาญ ที่มีการดื้อตออินซูลิน โดยใชยาตานโรคเบาหวานและยาลดไขมัน
          พิเศษ) ทันตแพทยหญิง ดร.สิริพร ฉัตรทิพากร หัวหนŒาโครงการวิจัย ซึ่งสามารถเพิ่มการเรียนรูและความจําในภาวะอวนลงพุงไดดีขึ้น
          พยาธิสรีรวิทยาทางประสาทของการเรียนรูŒและความจําในภาวะอŒวน และมีการปรับเปลี่ยนชนิดของไมโครไบโอตาหรือแบคทีเรีย
          จากระดับเซลลถึงผูŒป†วย จึงไดŒเริ่มการศึกษาเกี่ยวกับภาวะโรคดังกล‹าว ในลําไส โดยอาหารกลุมพรีไบโอติกและโปรไบโอติก ยังชวยฟนฟู
          ในโมเดลสัตวทดลอง จนถึงคนไขŒ เพื่อนําขŒอมูลที่สําคัญมาวิเคราะห การเรียนรูและความจําในภาวะอวนที่มีการดื้อตออินซูลินไดดี
          เพื่อเตรียมความพรŒอมและป‡องกันภาวะอŒวนลงพุง ที่จะเกิดขึ้นในอนาคต  โดยชวยปรับปรุงการทํางานของสมองสวนฮิปโปแคมปส (สมอง
          ซึ่งผลงานวิจัยดังกล‹าวไดรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ : รางวัลผลงานวิจัย  ที่มีผลตอการเรียนรูและความจํา) การทํางานของไมโทคอนเดรีย
          ระดับดีมาก สาขาวิทยาศาสตรการแพทย ประจําป 2565 จากสํานักงาน ของสมองและลดการกระตุนของการทํางานของไมโครเกลีย ซึ่งเซลล
          การวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย ที่ทําใหเกิดการอักเสบในสมองลดลง ผลจากการเปลี่ยนแปลงตาง ๆ
          และนวัตกรรม (อว.)                                   ที่พบในสัตวทดลอง มีลักษณะใกลเคียงกับการเปลี่ยนแปลง
                 ศาสตราจารย (เชี่ยวชาญพิเศษ) ทันตแพทยหญิง ดร.สิริพร  ในคนดวย ทั้งนี้ ยังไดพบวามีการปรับเปลี่ยนปริมาณและชนิด
          ฉัตรทิพากร สังกัดภาควิชาชีววิทยาชองปากและวิทยาการวินิจฉัย แบคทีเรียในลําไสของคน ในการกอโรคของผูปวยภาวะอวนลงพุง
          โรคชองปาก คณะทันตแพทยศาสตร และศูนยวิจัยและฝกอบรม โดยวิเคราะหองคประกอบของจุลินทรียในลําไสของผูปวยภาวะ
          สาขาโรคทางไฟฟาของหัวใจ คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย อวนลงพุง และพบความเปนไปไดในการใชจุลินทรียในลําไส
          เชียงใหม ไดใหขอมูลเกี่ยวกับโครงการวิจัยพยาธิสรีรวิทยา เปนตัวบงชี้ความรุนแรงของภาวะอวนลงพุง
          ทางประสาทของการเรียนรูและความจําในภาวะอวนจากระดับ        การศึกษาของโครงการวิจัยนี้จากสัตวทดลองถึงคน
          เซลลถึงผูปวยวา ภาวะอวนลงพุงมีภาวะเสี่ยงที่จะเปนโรคหัวใจ  แสดงใหเห็นวา พยาธิสภาพของสมอง สงผลใหการเรียนรูและ
          โรคหลอดเลือดสมอง โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และการลดลงของ ความจําที่ลดลงเกิดขึ้นไดในภาวะอวนลงพุง และวิธีการปองกัน
          การเรียนรูและความจํา อาการของภาวะอวนลงพุงที่พบสวนใหญ  หรือรักษาภาวะอวนลงพุง สามารถปองกันการเสื่อมของสมอง
          มีไขมันสะสมรอบเอวที่มากขึ้น  ระดับคอเลสเตอรอลหรือ ในภาวะอวนลงพุงได  รวมถึงผลจากงานวิจัยอาจนําไปสู
          ไตรกลีเซอไรดที่สูงขึ้น จะมีความดันโลหิตที่เพิ่มขึ้น ภาวะดื้อตอ การประยุกตใชจุลินทรียในลําไส และการทํางานของไมโทคอนเดรีย
          อินซูลิน และตามมาดวยการเกิดภาวะนํ้าตาลในเลือดสูง   ในเซลลเม็ดเลือดขาว เพื่อชวยในการบงบอกความผิดปกติของ
                 จากการศึกษาโครงการวิจัยนี้ ผานสัตวทดลองที่มีลักษณะ การทํางานของสมองในคนไดอีกดวย
          คลายภาวะอวนลงพุงในคน ผานการบริโภคอาหารไขมันสูงแบบ
          เรื้อรัง พบวา สัตวทดลองที่มีการบริโภคอาหารไขมันเปนเวลานาน
          ทําใหเกิดความผิดปกติของการเผาผลาญอาหาร ภาวะอวนที่มีการ
          ดื้อตออินซูลิน ซึ่งมีความผิดปกติของการทํางานในสมอง สงผลให
          การเรียนรูและความจําลดลง นอกจากนี้ ยังมีการเปลี่ยนแปลงของ
          ปริมาณและชนิดแบคทีเรียในลําไส เกิดขึ้นในระยะแรกของการ
          บริโภคอาหารไขมัน ตามมาดวยความผิดปกติในเลือด เชน ไขมันสูง
          ภาวะดื้อตออินซูลิน และสุดทายเกิดการเปลี่ยนแปลงในสมอง
          ซึ่งนําไปสูการลดลงของการเรียนรูและความจําในโรคอวนลงพุง
          ดังนั้น การลดภาวะดื้อตออินซูลิน การลดไขมันในเลือดหรือ
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13