Page 7 - จดหมายข่าว วช 134
P. 7

นวัตกรรม
                     นวัตกรรม : การเกษตร: การเกษตร










 “การทําวัคซีนปลาแบบไรŒเข็ม” ปองกันโรคระบาดใหปลาเศรษฐกิจ

 ไดอยางมีประสิทธิภาพ ไดรับรางวัลเวทีนานาชาติ








                                ชุดระบบดักจับและควบคุมกาซคารบอนไดออกไซด

                          เพื่อเพาะเลี้ยงสาหรายสไปรูลินา ชวยลดตนทุนสารอาหารได



                 กระบวนการผลิตเอทานอล จะเกิดกาซคารบอนไดออกไซด   และระบบอาหารปลอดภัย รวมทั้งสามารถพัฒนาตอยอดไปสูัย รวมทั้งสามารถพัฒนาตอยอดไปสู
                 กระบวนการผลิตเอทานอล จะเกิดกาซคารบอนไดออกไซด  และระบบอาหารปลอดภ
          ที่ปล‹อยลอยขึ้นสู‹ชั้นอากาศ กระทบต‹อภาวะโรครŒอน และ PM2.5 โดยไม‹มี  ระบบตรวจสอบยอนกลับได และสามารถลดตนทุนการผลิต
          เทคโนโลยีดักจับหรือนําไปใชŒประโยชน ดŒวยเหตุนี้ รองศาสตราจารย   ในสวนของสารอาหารไดมากกวา 30% จากเดิมที่มีคามากกวา
          ดร.สมเกียรติ จตุรงคลํ้าเลิศ อาจารยประจําสาขาวิศวกรรมศาสตร  60% ของกระบวนการผลิตทั้งหมด ดานภาคอุตสาหกรรม
          และอุตสาหกรรมวิจัย มหาวิทยาลัยแม‹โจŒ หัวหนŒาโครงการวิจัย จึงไดŒ  ยังไดมีสวนสนับสนุนในการลดภาวะโลกรอนอีกดวย ซึ่งจากการ
          พัฒนา “ชุดระบบดักจับและควบคุมกาซคารบอนไดออกไซด” จนสําเร็จ   ประเมินผลกระทบภาวะโลกรอนของระบบฟารมสาหรายฯ ที่ใช
          เปšนที่ตŒองการของบริษัท มิตรผล ผูŒผลิตและจําหน‹ายนํ้าตาลทราย  เทคโนโลยีดังกลาว มีคาประสิทธิภาพการนํากาซคารบอนไดออกไซด
          รายใหญ‹ของประเทศ เพื่อนําไปต‹อยอดกับอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล   ไปใชประโยชนเทากับ  57%  โดยมีปริมาณการนํากาซ

          ซึ่งเปšนเครือข‹ายลูกของอุตสาหกรรมนํ้าตาลทราย ที่จังหวัดกาฬสินธุ   คารบอนไดออกไซดไปใชเทากับ 235.3 ลูกบาศกเมตรตอป หรือ
          โดยไดŒรับทุนสนับสนุนจาก สํานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร   463.5 x 103 kg CO  ตอป เมื่อใชขนาดบอ 18 ลูกบาศกเมตร
                                                                               2
          (องคการมหาชน) (สวก.) และบริษัท มิตรผล ไบโอฟูเอล จํากัด   (พื้นที่รวม 200 ตารางเมตร)
          พรŒอมไดŒรับการจดทะเบียนสิทธิบัตรผลงานเปšนที่เรียบรŒอยแลŒว   ทั้งนี้ ยังสามารถตอยอดเทคโนโลยีดักจับและควบคุม
                 การนําเทคโนโลยีดักจับและควบคุมกาซคารบอนไดออกไซด  คารบอนไดออกไซดไปยังอุตสาหกรรมอื่น ๆ ที่มีการปลดปลอย
          จากอุตสาหกรรมผลิตเอทานอล มาใชเพาะเลี้ยงสาหรายสไปรูลินา  กาซคารบอนไดออกไซดได เชน โรงไฟฟา โรงงานอุตสาหกรรม
          ในระบบฟารมสาหรายอัจฉริยะที่พัฒนาไวแลวกอนหนา   ทางการเกษตร เปนตน เพื่อรองรับการแกปญหาการเปลี่ยนแปลง

          สามารถดักจับกาซคารบอนไดออกไซดที่มีระดับความเขมขน  สภาพบรรยากาศ โดยผลงานของ รองศาสตราจารย ดร.สมเกียรติ
          และปริมาณปลอยที่ไมคงที่ได โดยปกติความเขมขนจะอยูที่   จตุรงคลํ้าเลิศ ไดรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ : รางวัลผลงาน
          50 - 60% และสามารถโปรแกรมควบคุมความเขมขนและปริมาณ  ประดิษฐคิดคน รางวัลประกาศเกียรติคุณ สาขาวิศวกรรมศาสตร
          ไดตามตองการ เชน ทั้งในระบบแบบจายตรง (Direct) ในรูป  และอุตสาหกรรมวิจัย ประจําป 2565 ในงานวันนักประดิษฐ
          กาซคารบอนไดออกไซด 10% 20 ลิตรตอนาที และในระบบทางออม   2564 - 2565 จัดโดยสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) ระหวาง
          (Indirect or Carbonator) ในรูปสารละลายเขมขน (Stock   วันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ 2565 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุม
          Solution) ที่มีคาไบคารบอเนตเทากับ 9,700 mg/L pH 8.45   ไบเทคบางนา กรุงเทพมหานคร อันเปนการเชิดชูผลงานที่
          เปนตน อีกทั้ง ความคุมคาในเชิงเศรษฐศาสตรหากมีการลงทุน  เปนประโยชนและมีคุณคาตอประเทศ
          ขยายการผลิตระบบฟารมฯ โดยใชเทคโนโลยีใหมนี้เพิ่มเปน

          20 เทา จะมีจุดคุมทุนอยูเพียง 2.59 ป
                 กาซคารบอนไดออกไซดที่เหลือทิ้งจากโรงงานผลิต
          เอทานอลเสมือนเปนการจายอาหารเสริม ใหสามารถเพิ่มปริมาณ
          ผลผลิตสาหรายสไปรูลินาได 30% และคาดวาจะเปนการยกระดับ
          กระบวนการผลิตในอุตสาหกรรมสาหรายสไปรูลินาใหมีมาตรฐาน
          ระดับสากล ทั้งกระบวนการผลิตอาหาร ระบบอาหารอินทรีย
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12