Page 11 - จดหมายข่าว วช 137
P. 11

กิจกรรม วช.

                          NRCT T
                          NRCT T
                          NRCT Talk : นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ ประจําป‚ 2565 alk : นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ ประจําป‚ 2565 alk : นักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติ ประจําป‚ 2565
         (สาขานิติศาสตร สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร และสาขาเศรษฐศาสตร)


              สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) มีภารกิจในการใหŒรางวัล ประกาศเกียรติคุณหรือยกย‹องบุคคล
       หรือหน‹วยงานดŒานการวิจัยและนวัตกรรม โดยเปšนผลงานที่เปšนประโยชนต‹อวงวิชาการส‹วนรวม ซึ่งในป‚ 2565 วช. ไดŒมอบรางวัลนักวิจัยดีเด‹นแห‹งชาติแก‹นักวิจัยที่มีความคิด
       ริเริ่มและอุทิศตนเพื่องานวิจัยมาอย‹างต‹อเนื่องจนเปšนที่ประจักษ เปšนผูŒที่มีจริยธรรมของนักวิจัยจนเปšนที่ยอมรับและยกย‹องในวงวิชาการนั้น ๆ สมควรเปšนแบบอย‹างแก‹นักวิจัย
       อื่นไดŒ ไดŒสรŒางองคความรูŒทางการวิจัยที่สําคัญ มีผลงานการวิจัยที่โดดเด‹น เปšนประโยชน สรŒางคุณูปการต‹อประเทศชาติ ประชาชน และวงวิชาการ
               โดย วช. ไดมีการจัดงาน NRCT Talk : นักวิจัยดีเดนแหงชาติ ขึ้นอยาง  “กราฟน (Graphene)” ซึ่งมีคุณสมบัติพิเศษ คือ เปนวัสดุที่มีในธรรมชาติ
        ตอเนื่องตั้งแตป พ.ศ. 2564 จนถึงปจจุบัน เพื่อเปนเวทีใหนักวิจัยไดนําเสนอ  หางายมีความนําไฟฟาสูงและมีความแข็งแรงมากกวาเหล็กถึง 200 เทา มีขนาด
        ผลงานวิจัยและนวัตกรรมผานสื่อมวลชน และยังเปนการเชิดชูนักวิจัย   ที่โคงงอ ยืดหยุนไดดี มีราคาถูก และมีพื้นที่ผิวสูง สวนนี้จึงเปนที่มาของการ
        นักประดิษฐที่สรางสรรคผลงานที่มีคุณคา สรางแรงจูงใจ และกระตุนใหนักวิจัย   นําเอาวัสดุกราฟนมาใชในการทํางานวิจัยเพื่อเพิ่มมูลคา เพิ่มระยะเวลา
        นักประดิษฐ เกิดการพัฒนาศักยภาพและสมรรถนะในการผลิตผลงานวิจัย   ในการใชงานใหนานยิ่งขึ้น การนําวัสดุกราฟนไปผสมในไฟฟา ในแบตเตอรี่ หรือ
        สิ่งประดิษฐและนวัตกรรมที่มีคุณภาพ สามารถผลักดันการใชประโยชนไดอยาง  ตัวเก็บประจุไฟฟายิ่งยวด กราฟนจะมีสวนชวยทําใหการเก็บประจุไฟฟาได
        เปนรูปธรรม ตลอดจนการเผยแพรประชาสัมพันธผลงานวิจัยและนวัตกรรม   เพิ่มมากขึ้น โดยที่พื้นที่ผิวของขั้วไฟฟาที่สูงขึ้น ทําใหเก็บประจุไฟฟาไดมากขึ้น
        เพื่อใหสื่อมวลชนเปนสื่อกลางในการประชาสัมพันธและเผยแพรผลงานวิจัย  แลวก็ยังสามารถทํางานในระยะเวลาที่นานขึ้นอีกดวย สิ่งที่นาสนใจ คือ การนํา
        และนวัตกรรมที่มีประโยชนไปสูชุมชน/สังคม และสาธารณชน เพื่อใหไดทราบ  กราฟนมาประยุกตใชในดานของความมั่นคงทางสังคม อาหาร สิ่งแวดลอม
        และนําไปสูการใชประโยชนอยางแทจริง ซึ่งในเดือนพฤษภาคม และมิถุนายน   พลังงงาน และทางการแพทย ดวยการพัฒนาเซนเซอรดวยวัสดุขั้นสูงนาโนกราฟน
        2565 นี้ วช. ไดจัดใหมีนักวิจัยดีเดนแหงชาติ ประจําป 2565 มาแถลงตอ  โดยใชเทคโนโลยีการพิมพสกรีนทําใหไดเซนเซอรกราฟนชนิดพิมพที่มีความไวสูง
        สื่อมวลชน 3 สาขา ดังนี้                               ตนทุนตํ่าสามารถตีพิมพลงบนพื้นผิวไดหลายชนิด และสงเสริมกําลังผลิต
            สาขานิติศาสตร                                    ในระดับอุตสาหกรรม ดานทางการแพทย ไดแก ชุดตรวจสารเสพติด ชุดตรวจ
               วช.  ไดมอบรางวัลนักวิจัยดีเดน                เชื้อกอโรคในอาหาร เซนเซอรวัดสารเรงเนื้อแดง และชุดตรวจเชื้อวัณโรค
        แหงชาติ สาขานิติศาสตร ประจําป 2565 ใหแก          ดานอาหารและสิ่งแวดลอมการนํากราฟนมามีสวนชวยในการวัดระดับกลิ่น
        ศาสตราจารยณรงค ใจหาญ แหง มหาวิทยาลัย               ขาวหอมมะลิดวยเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส AI และการนํากราฟนมาเปน
        ธรรมศาสตร เนื่องจากเปนนักวิจัยที่ไดอุทิศตน         สวนผสมในการผลิตผาอนามัยเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใหดียิ่งขึ้น กราฟนนับเปน
        เพื่อศึกษาวิจัยดานนิติศาสตร โดยผลงานโดดเดน         วัสดุแหงอนาคตที่จะนําไปสูนวัตกรรมรูปแบบใหมสงเสริมการพัฒนาเทคโนโลยี
        มีทั้งหมด 3 ชิ้น ซึ่งจะเนนหนักที่ดานกระบวนการ       และเพิ่มขีดความสามารถยกระดับการแขงขันของประเทศไดอยางยั่งยืน
        ยุติธรรมทางอาญา 1) เปนการนําเสนอรูปแบบ                   สาขาเศรษฐศาสตร
        ของการใชกระบวนการยุติธรรมเชิงสมานฉันทในศาลยุติธรรม 2) เปนเรื่อง  วช. ไดมอบรางวัลนักวิจัยดีเดนแหงชาติ
        การชวยเหลือทางกฎหมายแกประชาชนของประชาคมอาเซียน และ 3) การ  สาขาเศรษฐศาสตร  ประจําป  2565  ใหแก
        ปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม เรื่องของการชวยเหลือผูเสียหายในคดีอาญา  ศาสตราจารย ดร.รุธิร พนมยงค คณบดี คณะ
        ในประเทศไทยและในอาเซียน งานสวนใหญจะเปนงานวิจัยเชิงนิติศาสตร  พาณิชยศาสตรและการบัญชี แหง มหาวิทยาลัย
        ที่มีขอเสนอการแกไขกฎหมาย ผลของการศึกษาออกมาในรูปของการยกราง  ธรรมศาสตร เปนนักวิจัยดีเดนแหงชาติ สาขา
        กฎหมายหรือการแกไขกฎหมายเดิมใหสอดคลองบริบทสังคม ซึ่งทางหนวยงาน  เศรษฐศาสตร ประจําป 2565 เนื่องจากไดอุทิศตน
        ที่เกี่ยวของจะนําไปเสนอกฎหมายใหเปนรูปธรรม โดยเปาหมายของผลงาน  เพื่องานวิจัยอยางตอเนื่อง  โดยเปนผูพัฒนา
        ทั้ง 3 ชิ้นนั้น หรืองานวิจัยอื่น ๆ ขอสําคัญก็คือตองตอบโจทยประโยชนสวนรวม  เสนทางโลจิสติกสในภูมิภาคอาเซียน งานวิจัยแบงเปนสามสวน สวนที่ 1
        ของสังคมไทย เปนหลักเกณฑที่สรางความสงบสุขใหกับสังคมไทย รวมทั้งการ  สวนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาขีดความสามารถของประเทศ อาทิ ตัวตนทุน
        ยกระดับใหไทยเรามีบทบาทตาง ๆ ในระหวางประเทศ แตในแงของภารกิจ   โลจิสติกส ผลิตภัณฑมวลรวม และการอํานวยความสะดวกทางดานการคา
        เรื่องของสิทธิมนุษยชน เรื่องของการดําเนินคดีอาญา ประเทศไทยใชโมเดล  สวนที่ 2 เรื่องดัชนีที่สะทอนใหเห็นถึงความสามารถของผูประกอบการ
        ที่เปนมาตรฐานสากล ฉะนั้น การที่ไดรับโอกาสที่จะเสนอการแกไขกฎหมายหรือ  ดานโลจิสติกสในประเทศไทยและในภูมิภาค ซึ่งเปนประโยชนตอผูประกอบการ
        ปรับปรุงระบบกฎหมายเหลานี้ใหดี ก็จะสงผลตอภาพลักษณของประเทศไทย  โดยผูประกอบการจะไดมีขอมูลอางอิงและประเมินความสามารถในการแขงขัน
        ใหเปนที่นาชื่นชมในสายตาของประชาคมโลกวามีความกาวหนาในกฎหมาย  และสวนที่ 3 เรื่องการพัฒนาเครื่องมือเรื่องระบบที่มาสนับสนุนในเรื่องโลจิสติกส
        ระดับสากล                                             อุทกภัยที่มาชวยเหลือบุคคลที่อยูในสภาวะที่อันตราย ซึ่งเปนศาสตรที่ใหม
            สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร                ที่ยังไมมีใครมองในรูปแบบโลจิสติกส แตพอมองในรูปแบบโลจิสติกสจะเห็นไดวา
               วช.  ไดมอบรางวัลนักวิจัยดีเดน                มีประโยชนอยางชัดเจน เพราะผลคือการชวยเหลือชีวิตคน และโลจิสติกส
        แหงชาติ สาขาวิทยาศาสตรกายภาพและคณิตศาสตร           มีหนาที่อํานวยความสะดวกใหกับเศรษฐกิจ โดยในอนาคตมีแนวคิดในเรื่อง
        ประจําป 2565 ใหแก ดร.อดิสร เตือนตรานนท แหง       ความสามารถดานโลจิสติกสของกลุมประเทศในอาเซียนวาจะทําอยางไร
        ศูนยเทคโนโลยีเพื่อความมั่นคงของประเทศและการ          ใหเชื่อมโยงกัน และอีกดานที่สําคัญ คือ เรื่องมิติความยั่งยืนดานสิ่งแวดลอม
        ประยุกตเชิงพาณิชย สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตร         ประเด็นการกีดกันทางการคาจากการไมปฏิบัติตามมาตรการทางสิ่งแวดลอม
        และเทคโนโลยีแหงชาติ (สวทช.) เนื่องจากเปน            ตาง ๆ หรือไมมีมาตรการในเรื่องความยั่งยืน ประเทศไทยจึงตองมีเครื่องมือวัด
        นักวิจัยที่ไดอุทิศตนเพื่องานวิจัยมาอยางตอเนื่อง    ในเรื่องดังกลาว จะไดเปนประโยชนตอผูกําหนดนโยบาย ผูนําไปปฏิบัติ และ
        ในเรื่องที่เกี่ยวของกับนาโนเทคโนโลยี โดยคนพบวัสดุคารบอนแบบ 2 มิติ ที่เรียกวา   ภาคการศึกษา อันจะนําไปสูการใชประโยชนสูงสุดตอไป
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16