Page 7 - จดหมายข่าว วช 137
P. 7
นวัตกรรม : ตรวจพิสูจนการปลอมแปลงเอกสาร
ทีมวิจัย มจธ. ถายทอดเทคโนโลยี
การตรวจพิสูจนการปลอมแปลงเอกสาร
โดยใชนวัตกรรมวัสดุนาโนสีเขียว
แกนักนิติวิทยาศาสตรทั่วประเทศ
เอกสารที่ถูกปลอมแปลงจากแหลงตองสงสัย ถือเปนหลักฐานชิ้นสําคัญ
ที่มีความเกี่ยวของกับหลายคดีความ และจากสถิติคดีศาลยุติธรรมทั่วราชอาณาจักร
ประจําป พ.ศ. 2558 ยังพบวา ความผิดเกี่ยวกับการปลอมแปลงเอกสารมีมากสุดถึง
ผูชวยศาสตราจารย ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน 95% ของความผิดที่เกี่ยวกับการปลอมแปลงในคดีอาญาทั้งหมด และยังมีแนวโนมเพิ่มขึ้น
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) ในทุกป ดังนั้น สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
หัวหนาโครงการวิจัย วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จึงไดใหทุนสนับสนุนโครงการ “การถายทอดเทคโนโลยีการ
ตรวจพิสูจนการปลอมแปลงเอกสารแบบไมทําลายตัวอยางโดยใชนวัตกรรมวัสดุนาโนสีเขียวแกนักนิติวิทยาศาสตร”
เพื่อใหเกิดการนําเอาองคความรูที่สมบูรณแลวไปขยายผลอยางเปนรูปธรรม ซึ่งจะชวยสนับสนุนการทํางานของ
เจาหนาที่ของรัฐใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว และเปน
การชวยลดงบประมาณในการนําเขาเทคโนโลยีราคาแพงจาก
ตางประเทศอีกดวย
สําหรับเทคโนโลยีการตรวจพิสูจนการปลอมแปลงเอกสารแบบ รามาน (Colloidal SERS) เพื่อออกมาจําหนาย
ไมทําลายตัวอยางโดยใชนวัตกรรมวัสดุนาโนสีเขียวที่เรียกวา Green Colloidal สําหรับ SERS - Substrate แมจะสามารถขยายสัญญาณรามาน
SERS เปนผลงานที่ไดรับรางวัลการวิจัยแหงชาติ : รางวัลผลงานประดิษฐคิดคน ไดดี แตมีขอเสีย คือ ยุงยากในการสราง มีราคาแพง ในขณะที่ Colloidal
สาขาวิทยาศาสตรเคมีและเภสัช ประจําป 2564 โดยมี ผูชวยศาสตราจารย SERS สามารถเตรียมขึ้นโดยใชกระบวนการที่งายกวาและมีราคาถูกกวา
ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน แหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) แตมีอายุการใชงานที่สั้นและตองนําเขาจากตางประเทศ
เปนหัวหนาโครงการวิจัย และมีผูรวมประดิษฐประกอบดวย ดร.นพดล นันทวงศ และ ทีมวิจัย จึงรวมกันพัฒนานวัตกรรม Green Colloidal SERS ขึ้น
ดร.พิทักษ เอี่ยมชัย แหง สํานักงานพัฒนาวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงชาติ สําหรับจําแนกหมึกปากกาในงานตรวจพิสูจนเอกสารตองสงสัย โดยมี
(สวทช.) พันตํารวจเอกหญิง ศิริพร จันทขันธ แหง สํานักงานตํารวจแหงชาติ และ ราคาถูก สามารถผลิตขึ้นเองไดอยางงายและรวดเร็ว ดวยเครื่องไมโครเวฟ
นางสาวอภิญญา เกตุกอง แหง มหาวิทยาลัย เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี (มจธ.) โดยใชเวลาในการเตรียมเพียงแค 3 นาที ใชวัสดุจากธรรมชาติที่มีภายใน
ผูชวยศาสตราจารย ดร.เขมฤทัย ถามะพัฒน อาจารยประจํา ประเทศไทย และมีอายุการใชงานนานกวา 6 เดือน สามารถนํา Green
ภาควิชาฟสิกส คณะวิทยาศาสตร หัวหนาศูนยวิจัยวิทยาศาสตรประยุกต Colloidal SERS ไปหยดลงบนหมึกปากกาบนวัตถุพยานประเภทเอกสาร
และวิศวกรรมศาสตรเพื่อคําตอบของสังคม และรองคณบดีฝายวิจัยและ ณ ตําแหนงตองสงสัยไดโดยตรง แลวนําไปตรวจวัดดวยเครื่องรามานสเปก
นวัตกรรม คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี โทรสโกปไดทันที โดยไมตองรอใหแหง สารขยายสัญญาณรามานที่พัฒนา
(มจธ.) หัวหนาโครงการวิจัยฯ ไดกลาวถึงโครงการดังกลาววา การปลอมแปลง ขึ้นนี้ จะไมทําละลายหมึก ตัวอักษร ที่อานไดยังคงลักษณะเดิม จึงไมจําเปน
เอกสารที่เปนความผิดในคดีอาญาซึ่งมีลักษณะที่มีการตอเติมหรือเขียนแทรก ตองทําลายสภาพเอกสารเพื่อสกัดหมึกออกมาตรวจวัด โดยการตรวจ
เชน การปลอมแปลงเอกสารที่เกี่ยวของกับการเงินของธนาคาร โฉนดที่ดิน หนึ่งตําแหนงจะใชสารในราคาเพียง 25 สตางค เทานั้น
หนังสือเดินทาง และหนังสือพินัยกรรมนั้น ในบางกรณีจําเปนตองตรวจพิสูจน นวัตกรรมดังกลาวสามารถขยายสัญญาณรามานไดมากกวา
การปลอมแปลงโดยการเปรียบเทียบชนิดของหมึกพิมพหรือหมึกปากกา 10 เทาของสัญญาณรบกวน ทําใหไดขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับองคประกอบ
ทั้งนี้ ดวยขอจํากัดของวิธีการตรวจแบบเดิม ๆ เชน การใชเครื่อง ทางเคมีของหมึกปากกา สามารถนําขอมูลไปใชในการจําแนกโมเลกุล
VSC ที่แสดงใหเห็นแคความแตกตางในการตอบสนองตอแสงระหวางหมึก องคประกอบ สีของหมึกปากกา และประเภทของตัวทําละลายซึ่งจะ
ปากกาที่ถูกนํามาเปรียบเทียบ ไมสามารถตรวจเปรียบเทียบชนิดของหมึกได บงบอกถึงชนิดของหัวปากกา เชน ปากกาลูกลื่น ปากกาหมึกซึม และ
หากหมึกปากกาในบริเวณตองสงสัยเรืองแสงเหมือนกัน หรือไมเรืองแสง ปากกาโรลเลอรบอล ยิ่งไปกวานั้นยังสามารถนําขอมูลที่ไดมาเปรียบเทียบกัน
เหมือนกัน และแมจะมีการนําเทคนิคตาง ๆ มาใชเพิ่มขึ้น แตยังมีตองสกัด เพื่อชี้ใหเห็นวาเอกสารตองสงสัยนั้นถูกปลอมแปลงหรือไม โดยการตรวจพิสูจน
หมึกปากกาออกมาจากเอกสารเพื่อตรวจพิสูจน เปนการทําลายสภาพเอกสาร จากหมึกปากกา
ทําใหเกิดความยุงยากในขั้นตอนการตรวจพิสูจน อีกทั้ง ยังตองทําการ การผลิต Green Colloidal SERS หรือ สารสําหรับขยายสัญญาณ
ขออนุญาตจากศาลกอนทําลายสภาพเอกสาร เพื่อการตรวจพิสูจนหมึกปากกาดวยวิธีรามานสเปกโทรสโกป ไดเองนี้
ปจจุบันหนวยงานดานการตรวจพิสูจนเอกสาร จึงไดนําเทคนิค ถือเปนการเพิ่มศักยภาพในการตรวจพิสูจนหลักฐานของหนวยงานตาง ๆ
รามานสเปกโทรสโกป (Raman Spectroscopy หรือ RS) มาประยุกตใช ไดเปนอยางดี ทั้งนี้ จากการสนับสนุนของ วช. ทีมวิจัยจะมีการถายทอด
ในการตรวจพิสูจนหมึกปากกาบนเอกสารไดโดยตรง โดยเปนการตรวจพิสูจน เทคโนโลยีการผลิต Green Colloidal SERS และกระบวนการตรวจพิสูจน
แบบไมทําลายตัวอยางและสามารถใหขอมูลเชิงลึกเกี่ยวกับองคประกอบ หมึกปากกาแบบไมทําลายวัตถุพยานเอกสารและไมทําละลายหมึกปากกา
ทางเคมีของหมึกปากกาได ใหแกตัวแทนเจาหนาที่กลุมงานตรวจเอกสารและกลุมงานตรวจทางเคมี
เนื่องจากการใชเทคนิค RS ในการตรวจพิสูจนหมึกปากกา ยังมี ฟสิกส กองพิสูจนหลักฐานกลาง และศูนยพิสูจนหลักฐานทั้ง 10 ศูนย
ความไวตํ่า จึงมีการนําเทคนิคพื้นผิวขยายสัญญาณรามาน (SERS) ดวยการ ทั่วประเทศไทย เพื่อประโยชนเชิงความมั่นคง และยังเปนการสรางเครือขาย
นําพื้นผิวของอนุภาคนาโนโลหะเขามาชวยในการขยายสัญญาณรามาน ความรวมมือใหแกสํานักงานพิสูจนหลักฐานตํารวจกับหนวยงานที่มีเครื่อง
และลดสัญญาณรบกวน ซึ่งในชวงหลายปที่ผานมาในเชิงพาณิชยมีการพัฒนา รามานสเปกโตรมิเตอรซึ่งกระจายอยูตามภูมิภาคตาง ๆ ใหผูปฏิบัติงานประจํา
ตัวขยายสัญญาณเปน 2 รูปแบบคือ รูปแบบแผนรองรับสําหรับขยายสัญญาณ เครื่องมือสามารถสนับสนุนการทํางานของเจาหนาที่สํานักงานพิสูจนหลักฐาน
รามาน (SERS - substrate) และรูปแบบของคอลลอยดสําหรับขยายสัญญาณ ตํารวจไดในอนาคต
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 7