Page 8 - จดหมายข่าว วช 137
P. 8

งานวิจัย : ปองกันและลดการใชความรุนแรง


                 ทีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒความรุนแรง” หนึ่งในแผนงานวิจัยีมวิจัยจุฬาฯ ศึกษา “สังคมไทยไรŒ
                 ท ท ท ท ท ท ท ท
                 ทŒาทายไทยของ วช. เพื่อช‹วยแกŒป˜ญหา บูรณาการหาแนวทางป‡องกัน

                 อย‹างเปšนรูปธรรมและยั่งยืน
                                                                                            รองศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสวาง
                                                                                            รองศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสวาง
                                                                                            รองศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสวาง
                                                                                               แหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                                                                                               แหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                                                                                               แหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
                                                                                                 หัวหนาโครงการวิจัย





                 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ตระหนักถึงป˜ญหาความรุนแรง
          ที่เกิดขึ้นในสังคมไทยอย‹างต‹อเนื่อง เพราะเปšนป˜ญหาที่ส‹งผลกระทบโดยตรง  และความรุนแรงในครอบครัวเกิดขึ้นนอยลงกวารอยละ 5 และโครงการ
          ต‹อชีวิตความเปšนอยู‹และการดําเนินชีวิตของคนในสังคม ทั้งดŒานชุมชน/  จัดทําฐานขอมูลและแผนที่ความรุนแรงในประเทศไทย (Thailand Violence
          สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง จึงไดใหทุนสนับสนุนโครงการวิจัยภายใต  Index) เพื่อเปนฐานขอมูลความรุนแรง (Base line) ที่สําคัญในการปองกัน
          แผนงานวิจัยทาทายไทย  เรื่อง  “สังคมไทยไรความรุนแรง”  ซึ่งมี   และแกไขปญหาความรุนแรงในสังคมไทย และชวยขับเคลื่อนไปสูการสราง
          รองศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสว‹าง แห‹ง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย   สังคมไทยไรความรุนแรง
          เปšนหัวหนŒาโครงการวิจัย เพื่อศึกษาถึงป˜ญหา สาเหตุ และแนวทางในการ  นอกจากนี้ ยังมีการขับเคลื่อนภายใตบริบทของสังคมไทย ซึ่งไดมี
          แกŒไขป˜ญหาการใชŒความรุนแรงในมิติต‹าง ๆ รวมถึงบูรณาการแนวทางในการ  การกําหนดเปาหมายในการลดความรุนแรงในพื้นที่เปาหมายที่ศึกษาเฉลี่ย
          ป‡องกัน ซึ่งมีการต‹อยอดขŒอมูลพื้นฐานที่ไดŒจากการวิจัย และนําไปสู‹แนวทาง  รอยละ 30 โดยรวมกับหนวยงานภาคปฏิบัติในการปองกันและแกไขปญหา
          การปฏิบัติใหŒเห็นผลอย‹างเปšนรูปธรรม สามารถนําไปใชŒใหŒเกิดประโยชน  ความรุนแรง เชน การรวมมือกับกรมกิจการสตรีและสถาบันครอบครัว
          และแกŒไขป˜ญหาของประเทศไดŒอย‹างแทŒจริง               กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย ในการจัดทํารางแผน
                 รองศาสตราจารย ดร.สุมนทิพย จิตสวาง อาจารยประจําภาควิชา   ปฏิบัติการปองกันและแกไขปญหาความรุนแรงตอเด็ก สตรี และบุคคล
          สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย   ในครอบครัวระยะ 5 ป (พ.ศ. 2566 - 2570)
          หัวหนาโครงการวิจัยฯ ไดกลาวถึงที่มาของการศึกษาวิจัยของโครงการ  สําหรับจุดเดนของโครงการวิจัยนี้ เปนการวิจัยที่ครอบคลุม
          ดังกลาววา ประเทศตาง ๆ ทั่วโลกรวมทั้งประเทศไทยประสบปญหาความ  การสรางสังคมไทยไรความรุนแรงใน 5 มิติ : 5P คือ ดานนโยบาย (Policy)
          รุนแรงอยางตอเนื่อง โดยความรุนแรงไดพรากชีวิตผูคนทั่วโลกไปมากกวา   เชน โครงการจัดทําฐานขอมูลและแผนที่ความรุนแรงในประเทศไทย
          1.5 ลานคนตอป ไมวาจะมาจากอัตวินิบาตกรรม ความรุนแรงตอสตรี   ดานการปองกัน (Prevention) เชน การพัฒนาโปรแกรมจังหวัดตนแบบ
          เด็ก และบุคคลในครอบครัว การฆาตกรรม ความรุนแรงที่เกี่ยวของกับความ  ดานการปองกันการฆาตัวตาย ดานการใหการคุมครอง (Protection) เชน
          ขัดแยงรูปแบบตาง ๆ และสงคราม ทีมวิจัยจึงทําการศึกษา เรื่อง “สังคมไทย  การนําแนวทางปฏิบัติที่ดีไปใชในการปองกันและแกไขปญหาความรุนแรง
          ไรความรุนแรง” มาอยางตอเนื่อง โดยในป 2562 - 2563 ไดรับทุนสนับสนุน  ในครอบครัวโดยการมีสวนรวมของชุมชน ดานการสรางความเปนหุนสวน
          การวิจัยจาก วช. ภายใตแผนงานวิจัยทาทายไทย (ปที่ 1) ซึ่งไดดําเนินการ  (Partnership) โดยการวิจัยเพื่อการสรางการมีสวนรวมตอภาคีเครือขาย
          สรางฐานขอมูลเบื้องตน (Base line) ที่เกี่ยวของกับความรุนแรงในสังคมไทย  และหนวยงานที่เกี่ยวของในการปองกันและแกไขปญหาการใชความรุนแรง
          ในมิติตาง ๆ ทั้ง 3 ระดับคือ 1) ความรุนแรงตอตนเอง 2) ความรุนแรงตอ  และดานการกําหนดแนวทางการดําเนินคดี (Prosecution) ไดแก มาตรการ
          บุคคล และ 3) ความรุนแรงระหวางกลุม รวมทั้งการแสวงหาเครื่องมือและ  กอนการดําเนินคดี คือ การพัฒนาเครื่องมือการไกลเกลี่ยและแนวทางปฏิบัติ
          แนวทางปฏิบัติที่ดีในการปองกันและลดความรุนแรงในสังคมไทยเปนสําคัญ   ในการจัดการความขัดแยงเชิงสมานฉันท และมาตรการหลังการดําเนินคดี
                 สําหรับโครงการฯ ในปที่ 2 ซึ่งไดรับทุนสนับสนุนการวิจัยจาก   คือ โปรแกรมปองกันการกระทําผิดซํ้าของผูตองขังมิใหกออาชญากรรมที่
          วช. ในป 2564 - 2565 ไดมีการนําองคความรูที่เกี่ยวของกับการปองกัน  ใชความรุนแรง
          และแกไขปญหาความรุนแรงในสังคมไทยภายใตแผนปที่ 1 ไปสูการวิจัย  จากแผนงานวิจัยไดมีการศึกษาการขับเคลื่อนแนวทางในการ
          เชิงปฏิบัติการแบบมีสวนรวม โดยรวมกับหนวยงานและบุคคลที่เกี่ยวของ  ปองกันและแกไขปญหาความรุนแรงในสังคมที่ประสบความสําเร็จและเห็น
          ในการปองกันและแกไขความรุนแรงในสังคมไทย เพื่อมุงลดความรุนแรง  เปนรูปธรรม คือ สามารถลดความรุนแรงในพื้นที่ที่ศึกษาไดมากกวารอยละ
          ในพื้นที่เปาหมายที่ศึกษาเปนสําคัญ ซึ่งไดมีการขับเคลื่อนแนวทางการลด  30 เชน การลดความรุนแรงตอเด็กและเยาวชนกลุมเสี่ยงผาน “โครงการพลัง
          ความรุนแรงที่เปนมาตรฐานสากล เชน การเพิ่มขีดความสามารถของ  เยาวชนสรางสรรค ดึงความดีออกจากใจ...สูสังคมไทยไรความรุนแรง”
          เพศหญิงทั้งทางดานเศรษฐกิจและสังคม การปองกันการใชความรุนแรง  ในพื้นที่ ตําบลสะอาด อําเภอนํ้าพอง จังหวัดขอนแกน การพัฒนาโปรแกรม
          หรือการลวงละเมิดตอเด็กและเยาวชน การเปลี่ยนแปลงทัศนคติและความเชื่อ   จังหวัดตนแบบดานการปองกันการฆาตัวตายใน 6 จังหวัดนํารอง และการ
          ซึ่งนําไปสูการใชความรุนแรงตอสตรี โดยมีแนวทางในการดําเนินการ เชน   พัฒนาสถานศึกษาตนแบบสานพลังความรวมมือยุติการใชความรุนแรงของ
          การจัดทําแคมเปญรวมกับหนวยงานที่เกี่ยวของเพื่อรณรงคยุติความรุนแรง  นักเรียนนักศึกษา ซึ่งนํารองในโรงเรียนอาชีวะ 9 แหงในกรุงเทพและปริมณฑล
          ตอสตรีภายใตแนวทางการลดความรุนแรงที่องคการอนามัยโลก (WHO)   การทํางานวิจัยในโครงการนี้ไดรับความรวมมืออยางดีจากหนวยงาน
          และองคการสหประชาชาติที่ไดเสนอกรอบแนวทางการลดความรุนแรง   ที่เกี่ยวของทั้งภาครัฐ  ภาคประชาสังคม  องคกรพัฒนาเอกชน  และ
          คือ การเคารพตอความเทาเทียมกันของสตรี (RESPECT) และการขับเคลื่อน  ประชาชน ในการขับเคลื่อนงานวิจัยซึ่งมีสวนสําคัญในการกําหนดนโยบาย
          แนวทางการสรางความเคารพตอความเทาเทียมกันตอสตรี (RESPECT)   และแนวทางในการปฏิบัติตอการปองกันและแกไขปญหาความรุนแรง
          ในพื้นที่เทศบาลตําบลเกาะคา อําเภอเกาะคา จังหวัดลําปาง เพื่อใหเปนพื้นที่  ทั้งในระดับประเทศและระดับทองถิ่น ที่ผานมามีหนวยงานที่นําผลงานวิจัย
          ที่มีความยั่งยืนในการแกไขปญหาการใชความรุนแรงตอสตรีและความรุนแรง  ไปใชประโยชนแลวมากกวา 14 โครงการ ซึ่งสามารถชวยลดความรุนแรง
          ในครอบครัว โดยปจจุบันพื้นที่ดังกลาวมีอัตราการเกิดความรุนแรงตอสตรี  ในพื้นที่วิจัยไดอยางเปนรูปธรรม
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13