Page 6 - จดหมายข่าว วช 142
P. 6

นวัตกรรม : การแพทย



              การพัฒนาชุดตรวจวิเคราะหจีโนไทปŠของหมู‹เลือดระบบ  Colton  Colton  Colton

                    ดŒวยวิธี high resolution melting ที่เหมาะสมสําหรับ

               ผูŒป†วยคนไทยโรคเลือดเรื้อรังที่จําเปšนตŒองไดŒรับเลือดเปšนประจํา
               ผูŒป†วยคนไทยโรคเลือดเรื้อรังที่จําเปšนตŒองไดŒรับเลือดเปšนประจํา
               ผูŒป†วยคนไทยโรคเลือดเรื้อรังที่จําเปšนตŒองไดŒรับเลือดเปšนประจํา

                         สํานักงาน
                    การวิจัยแหงชาติ (วช.)
                    กระทรวงการอุดมศึกษา
                 วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                ใหทุน Spearhead แกคณะนักวิจัย
          มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร พัฒนาชุดตรวจวิเคราะห
           จีโนไทปของหมูเลือดระบบ Colton เพื่อแกปญหา
             ในการจัดหาเลือดผูบริจาคที่เหมาะสมและ
               ปลอดภัยใหกับผูปวยที่ตองไดรับเลือด
                 เปนประจํา พรอมตอยอดวิธีการ
                   ตรวจจีโนไทปกับหมูเลือด
                        ระบบอื่นตอไป
                                                              แ
                                                              และอัลลีล CO*B เพราะไมมีแอนติซีรัมจําหนาย ทําใหเกิดปญหาละอัลลีล CO*B เพราะไมมีแอนติซีรัมจําหนาย ทําใหเกิดปญหา
                ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  ในการจัดหาเลือดผูบริจาคที่เหมาะสมและปลอดภัยใหกับผูปวย
        ไดกลาวถึงการสนับสนุนทุนวิจัยวา วช. ใหความสําคัญกับงานวิจัยและ ที่ตองไดรับเลือดเปนประจํา การตรวจจีโนไทปของหมูเลือดระบบนี้
        พัฒนาในทุกมิติ โดยเฉพาะในแผนงานวิจัยดานยุทธศาสตรเปาหมาย  จะชวยแกปญหาดังกลาวได คณะผูวิจัยจึงไดพัฒนาชุดตรวจวิเคราะห
        (Spearhead) ที่เปนการพัฒนาระบบบริการเพื่อการดูแลสุขภาวะ จีโนไทปของหมูเลือดระบบ Colton ดวยวิธี high resolution melting
        ดานการแพทยครบวงจรและภารกิจดานสาธารณสุขเพื่อสุขภาพชีวิต (HRM) ที่เหมาะสมสําหรับผูปวยคนไทยที่เปนโรคเลือดเรื้อรัง ที่จําเปน
        และสังคม ซึ่ง วช. ไดสนับสนุนทุนวิจัยประจําปงบประมาณ 2565  ตองไดรับเลือดเปนประจํา ทั้งนี้เมื่อพัฒนาวิธีการตรวจไดสําเร็จ
        ในแผนงานวิจัยSpearhead แกโครงการ “การพัฒนาชุดตรวจวิเคราะห ผูวิจัยจะทําการตรวจโดยใชตัวอยางดีเอ็นเอของผูบริจาคและผูปวย
        จีโนไทปของหมูเลือดระบบ Colton ดวยวิธี high resolution melting  ใสลงในชุดนํ้ายาที่เตรียมขึ้นเอง และนําไปเพิ่มปริมาณสารพันธุกรรม
        ที่เหมาะสมสําหรับผูปวยคนไทยโรคเลือดเรื้อรังที่จําเปนตองไดรับเลือด แลววิเคราะหผลผานเครื่อง HRM ซึ่งใชเวลาเพียงสองชั่วโมง จึงสามารถ
        เปนประจํา” โดยมี ศาสตราจารย (พิเศษ) พลตรีหญิง ดร.ออยทิพย  ระบุจีโนไทปและทํานายวาเปนแอนติเจนชนิดใดได
        ณ ถลาง แหง มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร เปนหัวหนาโครงการวิจัย    สําหรับจุดเดนของงานวิจัยคือ ในประเทศไทยยังไมมีขอมูล
        เพื่อพัฒนาชุดตรวจวิเคราะหจีโนไทปของหมูเลือดระบบ Colton  ความถี่ของอัลลีล CO*A และอัลลีล CO*B ในผูบริจาคเลือดและผูปวย
        เพื่อแกปญหาในการจัดหาเลือดผูบริจาคที่เหมาะสมและปลอดภัย ดังนั้นขอมูลที่ไดจากงานวิจัยนี้ จะสามารถนําเสนอในการประชุมวิชาการ
        ใหกับผูปวยที่ตองไดรับเลือดเปนประจํา             ระดับชาติและนานาชาติได รวมทั้งการตีพิมพในวารสารที่อยูใน
               ศาสตราจารย (พิเศษ) พลตรีหญิง ดร.ออยทิพย ณ ถลาง  ฐานขอมูล SCOPUS ตอไป
        ไดกลาวถึงโครงการวิจัยวา เนื่องจากหมูเลือดระบบ Colton มีความสําคัญ  ปจจุบันคณะผูวิจัยไดออกแบบไพรเมอรที่จําเพาะกับอัลลีล
        ในทางคลินิก  โดยแอนติบอดีของหมูเลือดระบบนี้เปนชนิด  IgG  CO*A และ CO*B ของหมูเลือดระบบ Colton สําหรับการตรวจวิเคราะห
        เกิดปฏิกิริยาไดดีในขั้นตอนของ Antiglobulin Test แตเซลลมาตรฐาน  จีโนไทปดวยวิธี DNA Sequencing รวมทั้งศึกษาภาวะที่เหมาะสม
        Screening Cells และ Panel Cells ที่ใชในการตรวจแยกชนิด ในการตรวจจีโนไทปดวยวิธี  HRM  รวมกับวิธีพีซีอารเอสเอสพี
        แอนติบอดีที่พบในผูปวย ยังไมไดมีการระบุชนิดของอัลลีล CO*A  (PCR-with sequence-specific primer, PCR-SSP) โดยไดทําการตรวจ
                                                              ในตัวอยางดีเอ็นเอผูบริจาคเลือดจํานวน 400 ราย พบวา ผลการตรวจ
                                                              จีโนไทปของอัลลีลหมูเลือดระบบ Colton ดวยวิธี DNA Sequencing
                                                              ใหผลตรวจที่ชัดเจนและถูกตอง สามารถใชเปนตัวอยางควบคุมคุณภาพ
                                                              ของการตรวจวิเคราะหจีโนไทปดวยวิธี HRM และ PCR-SSP ได
                                                              โดยขณะนี้อยูในขั้นตอนการพัฒนาชุดตรวจทั้งสองวิธี
                                                                     ทั้งนี้ เมื่อดําเนินการวิจัยเสร็จสิ้น คณะผูวิจัยจะรวมมือกับ
                                                              ศูนยบริการโลหิตแหงชาติ สภากาชาดไทย ประยุกตใชวิธีการตรวจ
                                                              จีโนไทปหมูเลือดระบบอื่นเพิ่มเติม สําหรับการเตรียมเซลลมาตรฐาน
                                                              ในการตรวจแยกชนิดแอนติบอดีในผูปวยที่มีปญหาการจัดหาเลือด
                                                              ที่เขากันไดยากตอไป
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11