Page 10 - จดหมายข่าว วช 142
P. 10
กิจกรรม วช.
วช. รวมกับ มก. จัดการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
International Conference on Materials Research and Innovation
International Conference on Materials Research and Innovation
International Conference on Materials Research and Innovation
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022)
ส ส ส
ใ ใ
ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งนี้ไดรับความสนใจนการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งนี้ไดรับความสนใจนการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งนี้ไดรับความสนใจ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร ในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติครั้งนี้ไดรับความสนใจ
วิจัยและนวัตกรรม รวมกับภาควิชาวัสดุศาสตร คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย และมีผูเขารวมงาน จากหลายภาคสวน ทั้งนิสิตนักศึกษา อาจารย
เกษตรศาสตร และภาคีเครือขาย จัดการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ International นักวิจัย และผูประกอบการ จากหนวยงานภาครัฐและภาคเอกชน
Conference on Materials Research and Innovation ครั้งที่ 4 (ICMARI 2022) ทั้งในประเทศและตางประเทศ ไดแก สหรัฐอเมริกา สหราชอาณาจักร
ระหวางวันที่ 15 - 16 ธันวาคม 2565 ณ โรงแรมดิเอมเมอรัลด กรุงเทพมหานคร ฝรั่งเศส โปแลนด ฟนแลนด ญี่ปุน สิงคโปร และไทย
โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธี ภายในงานจัดใหมีการนําเสนอผลงานวิจัยแบบปากเปลา
เปดการประชุมฯ และ รองศาสตราจารย ดร.สุตเขตต นาคะเสถียร รองอธิการบดี ใน 3 หัวเรื่อง ไดแก Rubbers and Polymeric Materials, Bio - and
ฝายวิจัยและสรางสรรค มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร กลาวรายงาน เมื่อวันที่ 15 Circular - materials และ Special Advanced Materials และยังมี
ธันวาคม 2565 ณ หองเพชรชมพู ชั้น 3 โรงแรมดิเอมเมอรัลด กรุงเทพมหานคร การนําเสนอและจัดแขงขันผลงานวิจัยในรูปแบบโปสเตอรใน 2 ประเภท
โดยการจัดประชุมดังกลาวมีวัตถุประสงคเพื่อเผยแพรองคความรู คือ Materials Research และ Materials Innovation
สมัยใหมทางวิทยาศาสตรและนวัตกรรมดานพอลิเมอร ใหแกนิสิต นักศึกษา ผลที่ไดจากการจัดประชุมวิชาการระดับนานาชาติในครั้งนี้
อาจารย บริษัท องคกร และหนวยงานรัฐบาลที่เกี่ยวของกับยางพาราและ กอใหเกิดการสรางเครือขายวิจัยและแลกเปลี่ยนประสบการณกับ
วัสดุที่เกี่ยวของทั้งภายในประเทศและตางประเทศ เปนการสนับสนุนอาจารย ภาคอุตสาหกรรม ภาคการศึกษา และนักวิจัย ทั้งในประเทศและ
และนักวิจัยที่เปนสมาชิกของศูนยเชี่ยวชาญเฉพาะทางวัสดุยางและพอลิเมอร ตางประเทศ ทําใหเกิดผลกระทบตอวงการวิชาการ การวิจัยและ
เพื่อการเกษตรและอุตสาหกรรม ใหมีผลงานตีพิมพและนําเสนอผลงานวิจัย พัฒนาดานวิทยาการและเทคโนโลยีของวัสดุศาสตร นําไปสูการพัฒนา
ดานพอลิเมอรและวัสดุที่เกี่ยวของทั้งในประเทศและตางประเทศ เศรษฐกิจรวมกันตอไป
การสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งที่ 11
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
โดยศูนยวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน วช. รวมกับ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน จัดการสัมมนา
วิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งที่ 11 โดยเมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2565 ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน
การวิจัยแหงชาติ ประธานฝายไทยในฐานะประเทศเจาภาพ รวมกับ ศาสตราจารยฉู ซีเผิง (Professor
Xu Xipeng) ประธานสภามหาวิทยาลัยหัวเฉียวแหงสาธารณรัฐประชาชนจีน ประธานฝายจีน ไดกลาวเปด
การสัมมนาวิจัยยุทธศาสตรไทย - จีน ครั้งที่ 11 ในหัวขอ “ความสัมพันธไทย - จีนภายใตบริบทการเปลี่ยนแปลง
ของโลกครั้งใหญ : โอกาสและอนาคต” และมี พลเอก สุรสิทธิ์ ถนัดทาง ผูอํานวยการศูนยวิจัยยุทธศาสตร
ไทย - จีน วช. รวมกลาวตอนรับ ซึ่งการสัมมนาดังกลาวจัดขึ้น ระหวางวันที่ 1 - 2 ธันวาคม 2565 ณ ศูนยศึกษา
ยุทธศาสตร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ และผานระบบออนไลน โดยมีวัตถุประสงคเพื่อแบงปน
ประสบการณและสานความรวมมือทางการวิจัยเพื่อสรางองคความรูที่เกี่ยวของกับยุทธศาสตรทั้งสองประเทศ
มีผูเขารวมทั้งวิทยากร ผูทรงคุณวุฒิ คณะนักวิจัย และผูที่สนใจชาวไทยและจีน ประมาณ 40 คน
นอกจากนี้ ยังไดรับเกียรติจากทานพิริยะ เข็มพล อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจําสาธารณรัฐ
ประชาชนจีน และ ศาสตราจารยจวง กั๋วถู (Professor Zhuang Guotu) ประธานสมาคมจีนเพื่อการศึกษา
เอเชียตะวันออกเฉียงใต ไดใหเกียรติปาฐกถาพิเศษในพิธีเปดการสัมมนาฯ โดยนายพิริยะฯ ไดกลาวถึง
การบรรลุฉันทามติที่สําคัญในการสรางสรรคชะตากรรมรวมจีน - ไทยที่มีความมั่นคง ความเจริญรุงเรือง และ
ความยั่งยืนมากขึ้น จากการประชุมเขตผูนําเขตเศรษฐกิจเอเปค (APEC) ครั้งที่ 29 ในระหวางวันที่ 17 - 19
พฤศจิกายนที่ผานมา และศาสตราจารยจวง กั๋วถู ไดกลาวถึงความเปนพี่เปนนอง การสงเสริมความรวมมือกัน
ระหวางบุคคลของไทยและจีน
ภายในงานมีการนําเสนอผลงานการวิจัยของนักวิชาการตาง ๆ และเวทีแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
ในแตละประเด็นโดยผูทรงคุณวุฒิชาวไทยและจีน ซึ่ง วช. คาดหวังวาการจัดสัมมนาในครั้งนี้ จะนําไปสูโจทย
วิจัยที่มีความทาทายและความรวมมือทางการวิจัยระหวางนักวิจัยไทยและจีนในอนาคตอันใกล
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
10 National Research Council of Thailand (NRCT)