Page 5 - จดหมายข่าว วช 144
P. 5

ผูทรงคุณวุฒิ
        ที่ความเขมขน PM2.5 เริ่มตนที่ 450 - 500 ไมโครกรัม/ลูกบาศกเมตร   ผูทรงคุณวุฒิ วช. พรอมดวย วช. พรอมดวย
                                                              ดร.ภูชีวันท  สุริยะวงศ
        และโซนพันธุพืชลดมลพิษ อาทิ ตนไทรใบสัก ตนมอนสเตอรเรลา   ดร.ภูชีวันท  สุริยะวงศ
        ตนหมาก ตนเดหลี ตนพลูปกนก ตนคลากาเหวาลาย ตนกวักมรกต   นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม
                                                              นักวิจัยมหาวิทยาลัยเชียงใหม
                                                              ผูชวยศาสตราจารย ดร.กัญจน
        ตนคลาแววมยุรา และตนคลานกยูง ซึ่งจากงานวิจัยพันธุพืชลดมลพิษ  ผูชวยศาสตราจารย ดร.กัญจน
                                                              ศิลปประสิทธิ์ นักวิจัยมหาวิทยาลัย
        พบวา พืชจํานวนมากสามารถชวยบําบัดฝุนและมลพิษอากาศอื่น ๆ   ศิลปประสิทธิ์ นักวิจัยมหาวิทยาลัย
        ไดดี เพื่อใหทุกคนมีคุณภาพชีวิตที่ดี จากอากาศและสิ่งแวดลอมที่ดี   ศรีนครินทรวิโรฒ และ รองศาสตราจารย
                                                              ศรีนครินทรวิโรฒ และ รองศาสตราจารย
               โดย วช. ไดจัดแถลงขาว “โมเดลสวนลดฝุน PM2.5 และ   ดร.ชัยรัตน ตรีทรัพยสุนทร นักวิจัย
                                                              ดร.ชัยรัตน ตรีทรัพยสุนทร นักวิจัย
        เฝาระวังฝุน PM2.5” เพื่อชวยลดผลกระทบปญหาฝุนละออง   มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา
                                                              มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลา
        ขนาดเล็กกวา 2.5 ไมครอน หรือ PM2.5 ที่สูงเกินมาตรฐาน โดยมี   ธนบุรี รวมแถลงขาว เมื่อวันที่ 27 กุมภาพันธ 2566 ณ ศูนยขอมูล
        ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ   สารสนเทศกลางดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมของประเทศ
        เปนประธานในการแถลงขาว และมี นายสมปรารถนา สุขทวี     และ สวน “ภูมิทัศนพรรณไมลดฝุน PM2.5” สํานักงานการวิจัย
        รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ นายเอนก บํารุงกิจ   แหงชาติ
        รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  ผูบริหารและ



                     นวัตกรรม : รองรับสังคมผูสูงอายุ

                                              แผนปูพื้นไฮบริดคอมโพสิตธรรมชาติ

                                 จากยางพาราและเสนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ
                                 จากยางพาราและเสนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ
                                 จากยางพาราและเสนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ

                                           สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                                    ไดŒใหŒการสนับสนุนทุนแก‹ รองศาสตราจารย ดร.ธาริณี นามพิชญ แห‹ง ภาควิชาเทคโนโลยีการบรรจุและวัสดุ

                                คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในการคิดคŒนนวัตกรรม “แผ‹นปูพื้นไฮบริดคอมโพสิตธรรมชาติ
                                คณะอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร ในการคิดคŒนนวัตกรรม
                                จากยางพาราและเสŒนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูŒสูงอายุ”
                                จากยางพาราและเสŒนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูŒสูงอายุ” โดยผลงานไดŒจัดแสดงในงาน “วันนักประดิษฐ ประจําป‚
                                จากยางพาราและเสŒนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูŒสูงอายุ”
                                2566” ระหว‹างวันที่ 2 - 6 กุมภาพันธ 2566 ณ ศูนยนิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร
                                        แผนปูพื้นไฮบริดคอมโพสิตธรรมชาติจากยางพาราและเสนใยปาลมเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุ
                                คิดคนเพื่อรองรับสังคมผูสูงอายุในประเทศไทยที่กําลังเพิ่มมากขึ้นในปจจุบันและปองกันหรือลดการเกิด
                                อุบัติเหตุของผูสูงอายุจากการลื่นลม โดยนวัตกรรมนี้ไดมีการศึกษาพัฒนาแผนปูพื้นที่มีสวนผสมของยางและ
                                สารเสริมแรงชนิดตาง ๆ ซึ่งจะสามารถชวยลดอาการเจ็บปวยและอุบัติเหตุของผูสูงอายุได โดยการใชยางพารา
                                และเสนใยปาลมที่เหลือใชจากภาคการเกษตรมาใช ทําใหชวยลดขยะจากภาคการเกษตรและยังชวย
                                เพิ่มมูลคาพืชเศรษฐกิจอีกดวย ซึ่งไดมีการทดสอบคุณสมบัติตาง ๆ ที่เกี่ยวของ เชน คุณสมบัติดานความทน

                                แรงดึง หรือคุณสมบัติดานความแข็ง เปนตน ซึ่งนวัตกรรมดังกลาวสามารถนําไปขยายผลตอยอดไปสูการ
                                ใชประโยชน อาทิ การนําไปใชในครอบครัวที่มีผูสูงอายุหรือสถานสงเคราะหคนชราเพื่อลดความเสี่ยงการเกิด
                                อุบัติเหตุการลื่นลมได นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มรายไดใหแกชุมชนโดยการนําผลิตภัณฑที่ไดจากชุมชน
                                มาใชเปนสวนประกอบเพื่อเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรไดอีกทางหนึ่งดวย
                                มาใชเปนสวนประกอบเพื่อเพิ่มรายไดใหแกเกษตรกรไดอีกทางหนึ่งดวย





         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         5
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10