Page 15 - จดหมายข่าว วช 145
P. 15
กิจกรรม วช.
การพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยและนวัตกรรม
การพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยและนวัตกรรม
การพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยและนวัตกรรม
ฝกอบรม “สรางนักวิจัยรุนใหม” (ลูกไก) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมกับ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม จัดโครงการ
ฝกอบรม “สรางนักวิจัยรุนใหม” (ลูกไก) มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม รุนที่ 4 ระหวางวันที่ 20 - 24 มีนาคม 2566 โดยมี นายสมปรารถนา สุขทวี
รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธีเปดโครงการฯ และมี รองศาสตราจารย ดร.วัชรพงษ วัฒนกูล รองอธิการบดีมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงใหม กลาวตอนรับ และ ดร.อัครสิทธิ์ บุญสงแท ผูอํานวยการสถาบันวิจัยและพัฒนา กลาวรายงานวัตถุประสงคการดําเนินโครงการฯ
นายสมปรารถนา สุขทวี รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดกลาวขอบคุณผูบริหารมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม ที่ใหความสําคัญ
ในการพัฒนาบุคลากรดานการวิจัยและนวัตกรรม โดยการสรางความรวมมือระหวาง วช. กับมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม มาตั้งแตปงบประมาณ
พ.ศ. 2562 จนถึงปจจุบัน โดยในครั้งนี้ ถือวาเปนรุนที่ 4 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม และมีผูเขารับการฝกอบรมในครั้งนี้ จากหลากหลายหนวยงาน
ไดแก สถาบันการอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยชั้นนําตาง ๆ หนวยงานราชการในพื้นที่ รวมทั้งภาคเอกชน
โดยในวันที่ 24 มีนาคม 2566 นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนผูมอบวุฒิบัตรใหแกผูที่ผานการฝกอบรมฯ
และกลาวปดโครงการฯ ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม
ทั้งนี้ วช. ไดใหความสําคัญกับการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานทางการวิจัยและนวัตกรรม โดยการสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาบุคลากรวิจัย
และนวัตกรรม ผานโครงการฝกอบรม “สรางนักวิจัยรุนใหม” (ลูกไก) มาตั้งแตปงบประมาณ พ.ศ. 2557 เพื่อเพิ่มความเขมแข็ง ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
ของประเทศ ซึ่งสงผลใหจํานวนบุคลากรวิจัยและนวัตกรรมมีเพิ่มมากขึ้น สามารถตอบโจทยของประเทศในดานการผลิตกําลังคนดานวิทยาศาสตร วิจัยและ
นวัตกรรมที่มีคุณภาพสูง พรอมยกระดับขีดความสามารถในการแขงขันของประเทศโดยการขับเคลื่อนไปสูการเปนประเทศที่มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน
วช. ลงพื้นที่ตรวจเยี่ยมติดตาม โครงการเพื่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล
และรวมรับฟงความคิดเห็นการจัดตั้งสํานักงานอุทยานธรณีแหงชาติ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
ส
โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นายเอนก บํารุงกิจ
โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นายเอนก บํารุงกิจ
รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ พรอมดวย ดร.สุพจน อาวาส ผูตรวจสอบทางวิชาการ
การพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล ลงพื้นที่ติดตามการดําเนินโครงการเพื่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณลงพื้นที่ติดตามการดําเนินโครงการเพื่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีลงพื้นที่ติดตามการดําเนินโครงการเพื่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณี
การพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล ลงพื้นที่ติดตามการดําเนินโครงการเพื่อการพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีีการพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล การพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล
โลกสตูล
โลกสตูล และรวมประชุมรับฟงความคิดเห็นการจัดตั้งสํานักงานอุทยานธรณีแหงชาติ ระหวางวันที่ 20 - 21 และรวมประชุมรับฟงความคิดเห็นการจัดตั้งสํานักงานอุทยานธรณีแหงชาติ ระหวางวันที่ 20 - 21
โลกสตูล และรวมประชุมรับฟงความคิดเห็นการจัดตั้งสํานักงานอุทยานธรณีแหงชาติ ระหวางวันที่ 20 - 21
มีนาคม 2566 ณ หองประชุมอันดามัน โรงแรม รอยัล ฮิลล จังหวัดสตูล
มีนาคม 2566 ณ หองประชุมอันดามัน โรงแรม รอยัล ฮิลล จังหวัดสตูล
นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดกลาววา วช. ไดสนับสนุนโครงการ
“การนํานวัตกรรมการจัดการองคกรสาธารณะแบบลีนในการกําหนดรูปแบบการบริหาร และการพัฒนากลไกการจัดการอุทยานธรณีระดับ
“การนํานวัตกรรมการจัดการองคกรสาธารณะแบบลีนในการกําหนดรูปแบบการบริหาร และการพัฒนากลไกการจัดการอุทยานธรณีระดับ
โลกในประเทศไทยใหสอดคลองกับบริบทของประเทศ และรองรับเกณฑประเมินของ UNESCO”
โลกในประเทศไทยใหสอดคลองกับบริบทของประเทศ และรองรับเกณฑประเมินของ UNESCO” ภายใตการพัฒนาพื้นที่ในเขตอุทยานธรณี
โลกสตูล และเพื่อใหสอดรับกับขอเสนอของ UNESCO โดยมี นายณรงคฤทธิ์ ทุงปรือ สํานักงานอุทยานธรณีโลกสตูล เปนหัวหนาโครงการ
โลกสตูล และเพื่อใหสอดรับกับขอเสนอของ UNESCO โดยมี นายณรงคฤทธิ์ ทุงปรือ สํานักงานอุทยานธรณีโลกสตูล เปนหัวหนาโครงการ
ซึ่งผลการศึกษาและการวิจัยมีขอยุติและผลผลิตที่สามารถตอยอดการพัฒนาและยกระดับอุทยานธรณีไทย จึงไดมีการจัดทํา แนวทางการจัดตั้งสํานักงานอุทยาน
ธรณีแหงชาติ ขึ้น โดย ดร. สุพจน อาวาส เปนผูยกรางแนวทางการจัดตั้งสํานักงานดังกลาว และมีการประชุมรับฟงความคิดเห็นมาแลว 2 ครั้ง : ครั้งที่ 1 กับ
คณะผูตรวจสอบทางวิชาการ การพัฒนาพื้นที่อุทยานธรณีโลกสตูล จังหวัดสตูล และ ครั้งที่ 2 กับผูบริหารจากอุทยานธรณีรายพื้นที่ จํานวน 10 แหง
สําหรับการประชุมครั้งนี้ซึ่งจัดขึ้นเปนครั้งที่ 3 โดยสํานักงานอุทยานธรณีโลกสตูล ไดจัดประชุมรับฟงความคิดเห็นแนวทางการจัดตั้งสํานักงาน
อุทยานธรณีแหงชาติ กับภาคประชาสังคมจังหวัดสตูลและจังหวัดใกลเคียง ในวันที่ 21 มีนาคม 2566 ณ โรงแรม รอยัล ฮิลล จังหวัดสตูล โดยมีหนวยงาน
ที่เขารวมประชุม ไดแก หนวยงานภาคราชการ หนวยงานภาคเอกชน สถาบันการศึกษา วิสาหกิจชุมชน สถานประกอบการชุมชน สภาอุตสาหกรรมสตูล
หอการคาสตูล ผูนําชุมชนทองที่ทองถิ่น และผูที่เกี่ยวของจังหวัดสตูล
และจังหวัดใกลเคียง รวมจํานวน 41 หนวยงาน โดยการประชุมดังกลาว
ไดรับขอคิดเห็นและขอเสนอแนะจากประชาคมเปนอยางดี คณะนักวิจัย
จะไดนําไปปรับแนวทางการจัดตั้งสํานักงานอุทยานธรณีแหงชาติ ใหมี
ความสมบูรณยิ่งขึ้น และดําเนินการขับเคลื่อนในการจัดตั้งสํานักงาน
อุทยานธรณีแหงชาติ เพื่อการบริหารจัดการที่ยั่งยืนตอไป
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 15