Page 16 - จดหมายข่าว วช 145
P. 16

กิจกรรม วช.


        อว. มอบหนากาก N95 ให กทม. ผลงานวิจัยฝมือคนไทย ตอยอดนวัตกรรม
        อว. มอบหนากาก N95 ให กทม. ผลงานวิจัยฝมือคนไทย ตอยอดนวัตกรรมสูเชิงพาณิชยสูเชิงพาณิชยสูเชิงพาณิชย
        อว. มอบหนากาก N95 ให กทม. ผลงานวิจัยฝมือคนไทย ตอยอดนวัตกรรม
              ศาสตราจารยพิเศษ ดร.เอนก เหลาธรรมทัศน รัฐมนตรีวาการกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัย
       และนวัตกรรม ใหเกียรติเปนประธานพิธีมอบหนากากอนามัยชนิด N95 ใหกรุงเทพมหานคร โดยมี รองศาสตราจารย
       ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร รับมอบหนากากอนามัยชนิด N95 จํานวน 10,000 ชิ้น เพื่อนํา
       ไปใชในกิจกรรมของกรุงเทพมหานคร ในการปองกันปญหาฝุนละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และโรคระบาดโควิด-19
       พรอมนี้ นายสัมพันธ เย็นสําราญ ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการกระทรวง อว., ศาสตราจารย ดร. นายแพทยสิริฤกษ
       ทรงศิวิไล ปลัดกระทรวง อว., ศาสตราจารย ดร. นายแพทยประสิทธิ์ วัฒนาภา ประธานกรรมการศูนยความเปนเลิศ
       ดานชีววิทยาศาสตร และ ดร.จิตตพร ธรรมจินดา ผูอํานวยการศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร พรอมดวย
       ผูบริหารหนวยงาน อว. โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให
       นายสมปรารถนา สุขทวี รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ รวมพิธีสงมอบหนากากอนามัยชนิด N95
       ในครั้งนี้ดวย เมื่อวันที่ 17 มีนาคม 2566 ณ หองแถลงขาว ชั้น 1 อาคารพระจอมเกลา กระทรวงการอุดมศึกษา
       วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) ถนนพระราม 6 กรุงเทพมหานคร
       วช. มอบนวัตกรรม “หนากากอนามัยชนิด N95” ผลงานวิจัยจาก TCELS ใหกับโรงพยาบาลตราด


                                                            เม
                                                            เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงื่อวันที่ 15 มีนาคม 2566 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวง
                                                     การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงาน
                                                     การวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย
                                                     แหงชาติ สงมอบนวัตกรรมหนากากอนามัยชนิด N95 จํานวน 3,600 ชิ้น ใหกับ นายแพทยสุชาติ
       ตันตินิรามัย ผูอํานวยการโรงพยาบาลตราด เพื่อนําไปใชในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย ที่มีภาวะเสี่ยงรับมือสถานการณโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล
       ตันตินิรามัย ผูอํานวยการโรงพยาบาลตราด เพื่อนําไปใชในการปฏิบัติงานของบุคลากรทางการแพทย ที่มีภาวะเสี่ยงรับมือสถานการณโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล
              นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดกลาววา วช. ไดใหทุนสนับสนุนงานวิจัยและนวัตกรรมการแกปญหาสําคัญและเปนวิกฤต
       เรงดวนของประเทศ โดยเฉพาะการรวมแกไขปญหาการแพรระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทยที่ผานมาดวยงานวิจัยและนวัตกรรมตาง ๆ รวมถึง “หนากากอนามัย
       ชนิด N95” ที่ วช. และศูนยความเปนเลิศดานชีววิทยาศาสตร (องคการมหาชน) หรือ TCELS เล็งเห็นความสําคัญ จึงไดสนับสนุนและดําเนินการพัฒนา
       หนากากอนามัยชนิด N95 ที่มีคุณสมบัติปองกันเชื้อโรคตาง ๆ และฝุนละอองไดจนสําเร็จตามวัตถุประสงคโดยสามารถผลิตหนากากอนามัยชนิด N95 ในทางการแพทย
       ไดตามมาตรฐานและสามารถนํามาใชงานไดจริง ซึ่งในอนาคตจะมีการถายทอดผลงานวิจัยนี้ใหกับภาคเอกชนเพื่อผลิตจําหนายเชิงพาณิชย โดยสามารถจําหนายในราคา
       ที่ถูกกวาหนากากนําเขาจากตางประเทศ จึงถือเปนโอกาสทางการตลาดและธุรกิจที่สามารถแขงขันกับหนากากอนามัยชนิด N95 ที่ผลิตในตางประเทศไดอยางดี
       ที่ถูกกวาหนากากนําเขาจากตางประเทศ จึงถือเปนโอกาสทางการตลาดและธุรกิจที่สามารถแขงขันกับหนากากอนามัยชนิด N95 ที่ผลิตในตางประเทศไดอยางดี
        วช. รวมบริจาคยาเหลือใชเพื่อชวยเหลือสังคม มอบใหกับโรงพยาบาลอุมผาง จังหวัดตาก


              นายเอนก บํารุงกิจ รองผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ พรอมดวยคณะอนุกรรมการสวัสดิการ
       วช. ดานสาธารณประโยชน และคณะกรรมการจริยธรรม เปนผูแทนสงตอ “ยาเหลือใช” ที่บุคลากร วช. ไดรวมกัน
       บริจาค นําไปจัดสงใหกับโรงพยาบาลอุมผาง อําเภออุมผาง จังหวัดตาก เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2566
              สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม จัดกิจกรรม
       ชวยเหลือสังคม โดยบุคลากร วช. ไดรวมกันบริจาค “ยาเหลือใช” ที่มีอายุยาเหลืออยางนอย 6 เดือน และยาบรรจุ
       อยูในซองที่สมบูรณ ไมผานการเปดหรือใชบรรจุภัณฑ มอบใหกับโรงพยาบาลอุมผาง อําเภออุมผาง จังหวัดตาก
       เพื่อนําไปชวยเหลือผูปวยยากไรที่มีความเดือดรอน และชวยเหลือผูปวยที่ไมมีหลักประกันสังคมใด ๆ นอกจากนี้
       วช. ยังไดมอบนวัตกรรมผลงานวิจัย “หนากากอนามัยสําหรับปองกันฝุนและละอองของเหลว n-Breeze M03”
       และ “ครีมทามือลดการสะสมของเชื้อโรค 99.99%” ใหโรงพยาบาลอุมผางนําไปใชประโยชนในพื้นที่อีกดวย
       วช. มอบ “นวัตกรรมทวารเทียมจากยางพารา สําหรับผูปวยขับถายทางหนาทอง” ใหโรงพยาบาลยะลา

                                               ส
                                               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม สงมอบ ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม สงมอบ
                                        “ชุดอุปกรณรองรับสิ่งขับถายจากทวารเทียมจากยางพารา เพื่อขับเคลื่อนเศรษฐกิจฐานราก” ผลงานวิจัยที่ไดรับทุน
                                        สนับสนุนจาก วช. ใหแก โรงพยาบาลยะลา 1,000 ชุด เพื่อรับมือผูปวยมะเร็งลําไสใหญ หรือผูประสบอุบัติเหตุ
                                        ทางชองทองที่ตองขับถายอุจจาระทางรูเปดของลําไสที่ผนังหนาทอง ซึ่งไมมีหูรูด การมอบใหครั้งนี้ ดร.วิภารัตน
                                        ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นายธีรวัฒน บุญสม ผูอํานวยการสงเสริมและ
                                        สนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรม เปนประธานในพิธีสงมอบฯ โดยมี แพทยหญิงนิตยา ภูวนานนท ผูอํานวยการ
                                        โรงพยาบาลยะลา เปนผูรับมอบฯ และ ผูชวยศาสตราจารย นายแพทยวรวิทย วาณิชยสุวรรณ ผูอํานวยการ
                                        สถาบันวิจัยและนวัตกรรมทางการแพทย ในฐานะหัวหนาโครงการวิจัย กลาวตอนรับ โดยมี คณะผูทรงคุณวุฒิ วช.
                                        บุคลากรทางการแพทย โรงพยาบาลยะลา ใหเกียรติรวมงานฯ เมื่อวันที่ 21 มีนาคม 2566 ณ โรงพยาบาลยะลา
                                        ตําบลสะเตง อําเภอเมืองยะลา จังหวัดยะลา
              จุดเดนของชุดอุปกรณรองรับสิ่งขับถายจากทวารเทียม ที่ผลิตโดยยางพาราไทย คือไมระคายเคืองผิวหนัง แปนติดผิวหนังและถุงรองรับสิ่งขับถายที่มี
       นํ้าหนักเบา ยึดติดผิวหนังไดดี สามารถปรับรูปรางตามหนาทองได อีกทั้งยังสามารถรับนํ้าหนักไดถึง 0.5 กิโลกรัม เม็ดพลาสติกเกรดพิเศษและผลิตดวยกระบวนการ
       เปาฟลมแบบหลายชั้น ไมเกิดการรั่วซึม ทําใหไมมีกลิ่นที่ไมพึงประสงคเล็ดลอดออกมาได ลดปญหาความขาดแคลนและการนําเขาจากตางประเทศได ทั้งนี้ ผลิตภัณฑ
       ไดรับเครื่องหมายมาตรฐาน อย. เครื่องหมายฮาลาล และเครื่องหมายมาตรฐานตาลีบัน เปนที่เรียบรอยแลว
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16