Page 14 - จดหมายข่าว วช 145
P. 14

กิจกรรม วช.

                การลงนามบันทึกความเขŒาใจว‹าดŒวยความร‹วมมือ
                การลงนามบันทึกความเขŒาใจว‹าดŒวยความร‹วมมือ
                การลงนามบันทึกความเขŒาใจว‹าดŒวยความร‹วมมือ
            ดŒานการประยุกตใชŒเทคโนโลยีและนวัตกรรมภูมิสารสนเทศ
                  ในดŒานการช‹วยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยแลŒง












             สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) และ สํานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและ ภูมิสารสนเทศ (องคการมหาชน) หรือ GISTDA ภายใตกระทรวง
      การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รวมกับ สํานักงานปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ กรมสงเสริมการเกษตร และกรมชลประทาน ภายใตกระทรวง
      เกษตรและสหกรณ, กรมอุตุนิยมวิทยา ภายใตกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, กรมปองกันและบรรเทาสาธารณภัย (ปภ.) ภายใตกระทรวงมหาดไทย
      และสํานักงานทรัพยากรนํ้าแหงชาติ (สทนช.) รวมลงนามบันทึกความเขาใจวาดวยความรวมมือดานการประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมภูมิสารสนเทศ
                                   ในดานการชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยแลง เมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2566 ณ โรงแรมรามาการเดนส กรุงเทพมหานคร
                                          ความรวมมือของ 7 หนวยงาน 4 กระทรวงในครั้งนี้ ถือเปนจุดเริ่มตนในการขับเคลื่อนแพลตฟอรม การประเมิน
                                       พื้นที่เสี่ยงภัยแลงของพืชเกษตรรายแปลงจากแบบจําลอง ดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ หรือ Croups Drought
                                       ภายใตโครงการประเมินพื้นที่เสี่ยงภัยแลงและความเสียหายของพืชเกษตรรายแปลง ดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศ
                                       เพื่อขยายการประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรมภูมิสารสนเทศ รวมถึงบูรณาการประยุกตใชเทคโนโลยีและ
                                       นวัตกรรมภูมิสารสนเทศในการชวยเหลือเกษตรกรที่ประสบภัยแลง ในดานตาง ๆ อาทิ ดานการเกษตร ดานภัยพิบัติ
                                                              และดานการบริหารจัดการนํ้าเพื่อใหเกษตรกรและประชาชนทั่วไปทุกพื้นที่ของ
                                                              ประเทศสามารถเขาถึงการใชงานเพื่อประโยชนในภาคการเกษตรไดแบบยั่งยืน
                                                              และใชเปนขอมูลในการชวยเหลือและฟนฟูผูประสบภัย ซึ่งสอดคลองกับขอมูล
                                                              ที่อยูภายใต การประเมินความเสียหายดวยเทคโนโลยีภูมิสารสนเทศเพื่อความ
                                                              ถูกตอง แมนยํา และรวดเร็วมากยิ่งขึ้น

          วช. ร‹วมกับ สอศ. บ‹มเพาะเพิ่มศักยภาพนักประดิษฐสายอาชีวศึกษา ประจําป‚ 2566 ภาคใตŒ











               เมื่อวันที่ 8 มีนาคม 2566 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รวมกับ สํานักงานคณะกรรมการ
        การอาชีวศึกษา (สอศ.) จัดกิจกรรม “การบมเพาะเพื่อเพิ่มศักยภาพการพัฒนาสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมสายอาชีวศึกษา : Smart Invention & Innovation
        ประจําป 2566 ภาคใต” โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานเปดงานพรอมปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “พัฒนาคน พัฒนาอาชีวะ :
        เพื่อการพัฒนาประเทศอยางยั่งยืน” พรอม คณะผูทรงคุณวุฒิ วช. คณะผูบริหาร สอศ. ใหเกียรติเขารวมงาน และ วาที่รอยตรี ธนุ วงษจินดา เลขาธิการ
        คณะกรรมการการอาชีวศึกษา บรรยายพิเศษเรื่อง “ยกระดับพลังอาชีวะ ดวยวิจัยและนวัตกรรมเพื่อสรางชาติ” ซึ่งกิจกรรมจัดระหวางวันที่ 8 - 10 มีนาคม 2566
        เพื่อสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของนักเรียน นักศึกษาสายอาชีวศึกษา ใหเกิดแรงจูงใจในการคิดคนผลงานประดิษฐและนวัตกรรม เพื่อใชในประเทศ
        ณ แกวสมุย รีสอรท จังหวัดสุราษฎรธานี
               กิจกรรม “การบมเพาะเพื่อเพิ่มศักยภาพการพัฒนาสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมสายอาชีวศึกษา : Smart Invention & Innovation ประจําป 2566
        ไดจัดขึ้นทุกภูมิภาค โดยเริ่มจัดที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดอุบลราชธานีเปนที่แรก ครั้งที่ 2 จัดที่ภาคเหนือ จังหวัดเชียงใหม ครั้งที่ 3 จัดที่ภาคกลาง
                                และภาคตะวันออก จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และในครั้งนี้ จัดเปนครั้งที่ 4 ที่ภาคใต จังหวัดสุราษฎรธานี ซึ่งรูปแบบการ
                                จัดกิจกรรมบมเพาะมีการบรรยายใหความรูเกี่ยวกับหลักการเขียนขอเสนอโครงการสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม
                                ในหัวเรื่อง การเปลี่ยนขยะใหเปนสินคาดวยงานวิจัยและนวัตกรรม ความรูเกี่ยวกับทรัพยสินทางปญญา เพื่อพัฒนา
                                ผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม Creative Thinking for Creative Innovation เทคนิคการนําเสนอผลงาน
                                พรอมกันนี้ไดมีกิจกรรมแบงกลุมการฝกปฏิบัติตามกลุมเรื่อง ซึ่งไดกําหนดกลุมเรื่องผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม
                                ดังนี้ 1) ดานการเกษตรและอุตสาหกรรมการเกษตร 2) ดานสาธารณสุข สุขภาพ และผลิตภัณฑเพื่อสุขภาพ 3) ดานการ
                                พัฒนาเทคโนโลยีปญญาประดิษฐ อุปกรณอัจฉริยะ 4) ดานพลังงาน สิ่งแวดลอม และ BCG Economy Model และ
                                5) ดานการพัฒนาคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจสรางสรรค โดยมีผูทรงคุณวุฒิที่มีความรอบรู ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ
                                ในการพัฒนาผลงานนวัตกรรมในเวทีระดับชาติและระดับนานาชาติ ซึ่งทานไดมาใหความรู ความเขาใจ การสรางแรงบันดาลใจ
                                กับทีมนักศึกษาสายอาชีวศึกษา เพื่อพัฒนาผลงานสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม ที่จะเปนกลไกหนึ่งในการพัฒนากําลังคนดวย
                                วิทยาศาสตร เทคโนโลยี วิจัยและนวัตกรรม การขับเคลื่อน การพัฒนาและสรางนวัตกรรมในอนาคตตอไป
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16