Page 9 - จดหมายข่าว วช 145
P. 9
งานวิจัย : สิ่งแวดลอม
การทํานาแปลงใหญ สูทางเลือกลดการปลอยกาซ
เรือนกระจก และชวยเพิ่มรายไดใหกับเกษตรกร
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ตระหนักวาประชากรคนไทยไมนอยกวา 30 ลานคน
อยูในภาคการเกษตร จึงไมมองขามที่จะใหความชวยเหลือ ซึ่งปญหาการปลอย
กาซเรือนกระจกในภาคเกษตรกรรม เปนแนวทางที่ประชาคมโลกกําลังใหความ
สนใจ วช. จึงสนับสนุน “งานวิจัยการประเมินและเปรียบเทียบดานสิ่งแวดลอม
เศรษฐกิจ และการจัดการของเกษตรกรรายยอยและการรวมกลุมเกษตรกร ทํานา
แปลงใหญสูทางเลือกเพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก” ผลงานวิจัยของ
รองศาสตราจารย ดร.นพพล อรุณรัตน แหง มหาวิทยาลัยมหิดล ที่พิสูจนใหเห็น
ผลงานวิจัยผานชุมชน ทองถิ่น จํานวน 2 ชุมชน คือ 1) กลุมเกษตรกรพอเพียง และกลุมเกษตรกรทํานาแปลงใหญ โดยจุดเดนของผลการดําเนินงาน
ตําบลรังนก และ 2) กลุมนาแปลงใหญบานบึงประดู วาชวยลดการปลดปลอย โครงการสําหรับงานวิจัยครั้งนี้ คือ องคความรูเกี่ยวกับประสิทธิภาพของ
กาซเรือนกระจก ชวยเพิ่มกําไรสุทธิ และชวยสรางความเขมแข็งของกลุมไดจริง การทํานาแปลงใหญ และประโยชนของการรวมกลุมของเกษตรกร และทําให
ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เกษตรกรในชุมชนเห็นวา การทํานาแปลงใหญ ดีตอสิ่งแวดลอม เพราะชวยลด
ไดกลาวถึงการที่ วช. ใหความสําคัญกับกลุมเกษตรกร ชุมชน และทองถิ่น การปลดปลอยกาซเรือนกระจกจากกระบวนการผลิตขาว (ชวยลดโลกรอน)
เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม กวาครึ่งหนึ่งของประชากร ชวยลดการปลดปลอยมลพิษสูสิ่งแวดลอม ประกอบกับ การทํา “นาแปลงใหญ”
คนไทยไมนอยกวา 30 ลานคน อยูในภาคการเกษตร ขณะเดียวกัน ดีตอรายได ชวยเพิ่มกําไรสุทธิใหกับเกษตรกร และการทํา “นาแปลงใหญ”
เกษตรกรรมปจจุบันนับวามีผลตอการทําใหเกิดภาวะโลกรอน เพราะ ยังดีตอสังคมชวยสรางความเขมแข็งของกลุม เห็นศักยภาพของสมาชิก
เปนแหลงปลอยกาซเรือนกระจกและเปนแหลงสะสมคารบอน เชน การปลอย ในกลุม เกิดความเขาใจซึ่งกันและกัน และเสริมสรางความสัมพันธอันดีของ
กาซมีเทนและไนตรัสออกไซดจากนาขาวและพื้นที่ปศุสัตว ดังนั้นการ คนในชุมชน นอกจากนี้ยังทําใหเกิดกระบวนการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ
ลดกาซเรือนกระจกในภาคเกษตรกรรมจึงเปนแนวทางที่ประชาคมโลก การสื่อสารภายในชุมชนเพื่อเชิญชวนเกษตรกรเขารวมกลุมนาแปลงใหญ
กําลังใหความสนใจ เนื่องจากเปนแนวทางที่มีศักยภาพเชิงตนทุน (คุมคา แกนนํากลุมมักเริ่มตนจากการพูดใหเกษตรกรเขาใจและยอมรับปญหาของ
ในการลงทุน) อยางมาก ดังนั้น งานวิจัย “การประเมินและเปรียบเทียบ ตนเอง เชน ปญหาหนี้สิน การทํานาแลวขาดทุน ขาดองคความรูเรื่องขาว
ดานสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และการจัดการของเกษตรกรรายยอยและ พรอมกับเนนใหเกษตรกรติดตามรับฟงนโยบายของรัฐบาลที่สื่อสารผาน
การรวมกลุมเกษตรกร ทํานาแปลงใหญสูทางเลือกเพื่อลดการปลดปลอย ชองทางตาง ๆ
กาซเรือนกระจก” ของ รองศาสตราจารย ดร.นพพล อรุณรัตน แหง สําหรับการสื่อสารภายนอกกลุม หรือ การสื่อสารระหวางกลุม
มหาวิทยาลัยมหิดล จึงเปนการตอบโจทยถึงแนวทางที่จะเขามาชวยเหลือ จะเปนการสื่อสารผานการฝกอบรม และแปลงเรียนรู จนนําไปสูความสําเร็จ
พี่นองเกษตรกร ใหสามารถทํานาแปลงใหญสูทางเลือกเพื่อลดการ ที่สามารถนําไปตอยอดใหเกิดประโยชนผานงานวิจัยนี้คือ การถายทอด
ปลดปลอยกาซเรือนกระจกไดจริง อีกทั้งยังชวยใหเกษตรกรมีรายไดและ เทคโนโลยีที่ไดจากงานวิจัยในชุมชน ทองถิ่น จํานวน 2 ชุมชน คือ 1) กลุม
กําไรเพิ่มขึ้นดวย เกษตรกรพอเพียงตําบลรังนก และ 2) กลุมนาแปลงใหญบานบึงประดู
รองศาสตราจารย ดร.นพพล อรุณรัตน หัวหนาโครงการวิจัย เมื่อเกษตรกรนํากระบวนการทํานาแบบแปลงใหญไปปฏิบัติ ซึ่งไดเห็นผล
ไดกลาวถึงการดําเนินการวิจัยและผลการวิจัยไววา การจัดทําโครงการ จากงานวิจัยนี้ที่บงชี้วาชวยลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก ชวยเพิ่ม
งานวิจัยฯ เพื่อประเมินและเปรียบเทียบดานสิ่งแวดลอม (คารบอนฟุตพริ้นท กําไรสุทธิ และที่สําคัญชวยสรางความเขมแข็งของกลุม และไดใชประโยชน
วอเตอรฟุตพริ้นท การใชพลังงาน การปลดปลอยกาซเรือนกระจก) และ ไดความรูจากโครงการวิจัยนี้ ในการอบรมสมาชิกใหม เกษตรกรอื่น ๆ
ดานเศรษฐกิจ (ตนทุนและผลตอบแทน) ของเกษตรกรรายยอย และการ ที่เขามาอบรมและดูงานในพื้นที่ นับไดวาเปนผลกระทบเชิงบวกจากงานวิจัย
รวมกลุมเกษตรกรทํานาแปลงใหญ เปนประเมินทางเลือกในการลดการ หรือ การตอยอดงานวิจัยเกษตรรายยอย และการรวมกลุมเกษตรกรทํานา
ปลดปลอยกาซเรือนกระจกของระบบผลิตขาว ตลอดหวงโซการผลิต และศึกษา แปลงใหญสูทางเลือกเพื่อลดการปลดปลอยกาซเรือนกระจก
บทบาทของการสื่อสาร การมีสวนรวม และการจัดการของเกษตรกรรายยอย
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 9