Page 5 - จดหมายข่าว วช 146
P. 5
นวัตกรรม : เพ� อสิ่งแวดลอม
การยกระดับยางพารา สรางสินคาจากหวายเทียม วัสดุยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก
สรางรายไดใหชุมชนในพื้นที่ภาคใต
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร
วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ
นําคณะผูทรงคุณวุฒิ วช. และคณะสื่อมวลชน ลงพื้นที่เยี่ยมชมโครงการ “การพัฒนา
วัสดุยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติกตามแนวทางเศรษฐกิจใหม BCG” เมื่อวันที่
5 เมษายน 2566 ณ ศูนยนวัตกรรมและเทคโนโลยียางเพื่ออุตสาหกรรม มหาวิทยาลัย
สงขลานครินทร วิทยาเขตหาดใหญ จังหวัดสงขลา เพื่อติดตามความกาวหนา
การดําเนินงานการประยุกตใชองคความรูงานวิจัยเปนฐานเพื่อผลิตเปนวัสดุจักรสาน
สําหรับเฟอรนิเจอรจากยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก ตอบโจทย BCG Economy
ภายใตแนวคิด นวัตกรรมเพื่อสิ่งแวดลอม “ยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก” ที่ วช.
ใหการสนับสนุนทุนวิจัย แก ดร.ณัฐพนธ อุทัยพันธุ รักษาการแทนรองผูอํานวยการ
โครงการจัดตั้งวิทยาลัยนานาชาติยางพาราไทย-จีน เปนหัวหนาโครงการวิจัยฯ
ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ เพื่อลดการใชพลาสติกซึ่งมีผลกระทบตอระบบนิเวศทางทะเลในปจจุบัน
ไดกลาวถึงโครงการ “การพัฒนาวัสดุยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก โดยขณะนี้ทางมหาวิทยาลัยสงขลานครินทรไดสงเสริมใหมีการแปรรูป
ตามแนวทางเศรษฐกิจใหม BCG” วา เปนผลงานของ ดร.ณัฐพนธ หวายเทียมจากยาง สานเปนกระเปาแฟชั่น และสินคาอื่น ๆ เพื่อตอบโจทย
อุทัยพันธุ แหง มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ที่ วช. ใหการสนับสนุน ตลาดสินคาแฟชั่นภายในประเทศ พรอมขยายเปนอาชีพแกกลุมคน
เพื่อนําองคความรูจากยางพาราที่เปนพืชเศรษฐกิจหลักของภาคใต เปราะบางในพื้นที่ใหมีรายไดที่ยั่งยืนในอนาคต
มาผสมกับขยะพลาสติก เพื่อผลิตเปนเฟอรนิเจอรหรือกระเปาสราง สําหรับยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก เปนนวัตกรรมเพื่อ
รายไดแกคนในชุมชนในพื้นที่ภาคใต งานวิจัยนี้ถือเปนการตอบโจทย สิ่งแวดลอม มีแนวคิดในการลดปญหาพลาสติกที่สงผลกระทบตอระบบ
การอนุรักษสิ่งแวดลอม วช. จึงใหความสําคัญและพรอมขับเคลื่อน นิเวศทางทะเล ลดการใชขยะพลาสติกประเภทใชครั้งเดียวแลวทิ้ง
งานวิจัยใหม ๆ ใหกับชุมชนตอไป ขยะจากบรรจุภัณฑอาหารและสินคาบริโภคซึ่งมีการใชงานมากขึ้น
ดร.ณัฐพนธ อุทัยพันธุ หัวหนาโครงการวิจัยฯ ไดกลาวถึง ในปจจุบัน โดยยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก สามารถแปรรูปไดงาย
การวิจัยไววา สืบเนื่องจากประชากรสวนใหญในพื้นที่จังหวัดชายแดน และเร็ว สามารถอัดรูปเปนสินคาตาง ๆ ไดอยางหลากหลาย
ภาคใตมีอาชีพเปนเกษตรกรสวนยางพารา จึงดําเนินการวิจัยเพื่อ โดยคณะผูทรงคุณวุฒิ วช. และคณะสื่อมวลชน ไดเดินทาง
ยกระดับยางพารา ใหสามารถแปรรูป สรางมูลคาเพิ่มรายไดแก ไปวิสาหกิจชุมชนจักสานยางพาราจังหวัดสตูล ตําบลปาแกบอหิน
ประชาชนในพื้นที่ ใหมีความมั่นคงทางดานรายได โดยทางทีมวิจัยได อําเภอทุงหวา จังหวัดสตูล เพื่อเยี่ยมชมการทํากระเปาและเฟอรนิเจอร
ที่ทําจากหวายเทียม อาทิ กระเปาสาน เกาอี้ และโตะ
ที่ทําจากหวายเทียม อาทิ กระเปาสาน เกาอี้ และโตะ
จัดทํางานวิจัยเปนเสนหวายเทียมจากยางธรรมชาติเทอรโมพลาสติก ที่ทําจากหวายเทียม อาทิ กระเปาสาน เกาอี้ และโตะ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
National Research Council of Thailand (NRCT) 5