Page 6 - จดหมายข่าว วช 146
P. 6

งานวิจัย : พลังงาน

            OFF  ON
              การผล
              การผล
              การผล
              การผล
              การผลิตนํ้ามันไบโอเจ็ต - เชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพจากิตนํ้ามันไบโอเจ็ต - เชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพจากิตนํ้ามันไบโอเจ็ต - เชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพจากิตนํ้ามันไบโอเจ็ต - เชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพจากิตนํ้ามันไบโอเจ็ต - เชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพจาก
              ฟูเซลแอลกอฮอล
              ฟูเซลแอลกอฮอลในเชิงพาณิชย ลดการปล‹อยกาซเรือนกระจกในเชิงพาณิชย ลดการปล‹อยกาซเรือนกระจกในเชิงพาณิชย ลดการปล‹อยกาซเรือนกระจก
              ฟูเซลแอลกอฮอล









                                                              ซึ่งปกติจะใชในการผลิตแกสโซฮอล ดังนั้นการเรงพัฒนางานวิจัยที่ศึกษา
                ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ ไดŒกล‹าวว‹า  ซึ่งปกติจะใชในการผลิตแกสโซฮอล ดังนั้นการเรงพัฒนางานวิจัยที่ศึกษา
         กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดยสํานักงานการวิจัย การเปลี่ยนเอทานอล รวมถึงฟูเซลแอลกอฮอลใหเปนผลิตภัณฑที่มีมูลคา
         แห‹งชาติ (วช.) มุ‹งสนับสนุนงานวิจัยที่จะก‹อใหŒเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจชีวภาพ  สูงขึ้น เพื่อผลักดันใหมีการใชแอลกอฮอลในประเทศอยางตอเนื่องจึงเปน
         (Bio economy) เศรษฐกิจหมุนเวียน (Circular economy) และเศรษฐกิจ เรื่องสําคัญ
         สีเขียว (Green economy) ซึ่งเปšนเครื่องมือสําคัญในการพัฒนาเศรษฐกิจ    คณะผูวิจัยจึงศึกษาการเปลี่ยนแอลกอฮอลเปนผลิตภัณฑที่มี
         ของประเทศไทย รวมถึงรองรับการปรับตัวของภาคส‹วนต‹าง ๆ ที่จะเกิดขึ้น มูลคาสูงขึ้น เชน นํ้ามันไบโอเจ็ตสําหรับใชในอุตสาหกรรมการบิน โดยใช
         ในอนาคต อย‹างเช‹น การสนับสนุนทุนวิจัยในป‚ 2563 ใหŒกับโครงการวิจัย  ตัวเรงปฏิกิริยาซีโอไลตที่ไดรับการเติมแตงโลหะใหมีประสิทธิภาพและ
         “การผลิตเชื้อเพลิงชีวภาพจากฟูเซลแอลกอฮอลที่ไดŒจากโรงงานเอทานอล”  เสถียรภาพสูง และดําเนินการเรงปฏิกิริยาในถังปฏิกรณชนิดเบดนิ่ง (Fixed
         ซึ่งมี รองศาสตราจารย ดร.อาทิตย อัศวสุขี แห‹ง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี bed reactor) ที่สามารถนําไปประยุกตในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ
         ราชมงคลอีสาน เปšนหัวหนŒาโครงการวิจัยฯ โดยงานวิจัยดังกล‹าวเปšนแนวทางใหม‹ ไดงาย
         สําหรับการผลิตนํ้ามันไบโอเจ็ต โดยใชŒผลิตภัณฑพลอยไดŒ ที่จากกระบวนการหมัก    ผลการวิจัยพบวา เมื่อใชตัวเรงปฏิกิริยา และดําเนินการเรง
         วัสดุทางการเกษตร เพื่อเปลี่ยนเปšนผลิตภัณฑที่มีมูลค‹าสูงขึ้น  ปฏิกิริยาการเปลี่ยนแอลกอฮอลในสภาวะที่เหมาะสม สามารถผลิตนํ้า
                โดยในป 2565 วช. ยังไดสนับสนุนใหงานวิจัยดังกลาวใหมี มันไบโอเจ็ตไดมากกวา 57% และเมื่อนํานํ้ามันไบโอเจ็ตที่ผลิตไดไปผสม
         การตอยอดไปสูการใชประโยชนเชิงพาณิชย โดยใหทุนสนับสนุนใน กับนํ้ามันเจ็ตเกรดการคาจํานวน 5% พบวา มีสมบัติเปนไปตามมาตรฐาน
         โครงการ “การศึกษาความเปนไปไดในการผลิตเชื้อเพลิงอากาศยาน สําหรับใชเปนนํ้ามันเครื่องบินไอพนทหาร (JP-8) และใชเปนนํ้ามันเครื่องบิน
         ชีวภาพคารบอนตํ่าในเชิงพาณิชย” ซึ่งมีความรวมมือในการขยายสเกล ไอพนเชิงพาณิชย (Jet A1) นอกจากนี้ ในกระบวนการผลิตยังใหผลิตภัณฑ
         การผลิตในระดับตนแบบที่ใหญขึ้น รวมกับภาคเอกชนในอุตสาหกรรม ซึ่ง พลอยไดอื่น ๆ เชน เอทิลีน โพรพิลีน สารไฮโดรคารบอนโซยาว เบนซิน
         ถือวาเปนแพลตฟอรมที่ดีที่หนวยงานภาครัฐไดทําหนาที่ชวยผลักดันใหเกิด โทลูอีน และไซลีน ซึ่งสามารถนําไปใชผลิตเปนเม็ดพลาสติก ตัวทําละลาย
         การวิจัย และพัฒนานวัตกรรมขึ้นในภาคธุรกิจทั้งจากการใหทุนวิจัยและ สารเติมแตง สี เชื้อเพลิง เชน แอลพีจี นํ้ามันเบนซิน เปนตน
         จับคูพันธมิตรดานงานวิจัย รวมถึงการสรางระบบนิเวศนวัตกรรมใหเกิดขึ้น  จากความสําเร็จของโครงการระยะแรก ที่สามารถผลิตนํ้ามัน
         อยางยั่งยืนผานเครือขายการวิจัย                    ไบโอเจ็ตไดจากแอลกอฮอลที่ประเทศไทย มีศักยภาพในการผลิตและ
                รองศาสตราจารย ดร.อาทิตย อัศวสุขี หัวหนาโครงการวิจัยฯ  มีสมบัติเปนไปตามมาตรฐาน โดยใชตัวเรงปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพและ
         ไดกลาวถึงการดําเนินงานวิจัยไววา ในกระบวนการผลิตเอทานอลที่ผลิตจาก เสถียรภาพสูง ขั้นตอนที่ไมยุงยาก ราคาไมแพง และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
         วัตถุดิบทางการเกษตรหรือวัสดุเหลือใช เชน ออย มันสําปะหลัง ขาวโพด  คณะผูวิจัยไดมีการดําเนินโครงการวิจัยในระยะที่ 2 โดยมุงศึกษาเสถียรภาพ
         กากนํ้าตาล นอกจากจะใหเอทานอลเปนผลิตภัณฑหลักแลว ยังใหผลิตภัณฑ และการฟนฟูสภาพของตัวเรงปฏิกิริยา การใชวัตถุดิบรวมระหวางเอทานอล
         พลอยไดเปนฟูเซลแอลกอฮอล (Fusel alcohol) ซึ่งเปนแอลกอฮอลที่มี และฟูเซลแอลกอฮอล เพื่อใหมีปริมาณสารปอนที่เพียงพอตอการผลิต
         จุดเดือดสูงกวาเอทานอล และเมื่ออัตราการผลิตเอทานอลมีปริมาณเพิ่ม นํ้ามันไบโอเจ็ต มีการศึกษาคุณภาพของเชื้อเพลิงชีวภาพที่เตรียมไดตอ
         สูงขึ้นสงผลใหฟูเซลแอลกอฮอลมีปริมาณเพิ่มมากขึ้นดวย แตอยางไรก็ดี ประสิทธิภาพการใชงานในเครื่องยนตเครื่องบิน รวมถึงการประเมินความ
         จากทิศทางการใชพลังงานของประเทศไทยในภาคขนสงที่กําลังปรับเปลี่ยน คุมคาทางเศรษฐศาสตรที่ครอบคลุมในทุกมิติ เพื่อเปนตนแบบในการดําเนิน
         ไปสูการใชยานยนตไฟฟา (EV) ไดสงผลกระทบตอปริมาณการใชเอทานอล  การในอุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพ
                                                                     ปจจุบันโครงการอยูระหวางการศึกษาความเปนไปไดในทาง
                                                              เศรษฐศาสตร และมีความรวมมือรวมกับบริษัท บางจาก คอรปอเรชั่น
                                                              จํากัด (มหาชน) บริษัท บีบีจีไอ จํากัด (มหาชน) และกองทัพอากาศ และ
                                                              เมื่อประสบความสําเร็จ โครงการนี้จะชวยสนับสนุนนโยบายของรัฐบาล
                                                              ที่ไดประกาศเปาหมายใหประเทศไทยปลอยกาซเรือนกระจกเปนศูนย
                                                              ภายในป ค.ศ. 2065 จากการประชุมภาคีอนุสัญญาสหประชาชาติวาดวย
                                                              การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศครั้งที่ 26 (COP26) โดยการกําหนดให
                                                              เครื่องบินจะตองมีการเติมเชื้อเพลิงอากาศยานชีวภาพแบบยั่งยืนซึ่งเปน
                                                              เชื้อเพลิงคารบอนตํ่า และชวยสนับสนุนนโยบายเศรษฐกิจ BCG ซึ่งเปน
                                                              นโยบายที่ใชในการสรางความสามารถในการแขงขันของประเทศ
                                                                                    สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          6                                                                         National Research Council of Thailand (NRCT)
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11