Page 7 - จดหมายข่าว วช 150
P. 7

มหกรรมงานวิจัยแหงชาติ 2566 (Thailand Research Expo 2023)


                                       พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ปาฐกถาพิเศษ

                              “วิศวกรสังคมและนวัตกรสังคมเพื่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษยที่ยั่งยืน”
























               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ  (วช.)  กระทรวงการอุดมศึกษา  เห็นปญหาเปนสิ่งทาทาย ทักษะการสื่อสารองคความรูเพื่อแกปญหา ทักษะ
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดŒเชิญพลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี  การทํางานรวมกันโดยปราศจากความขัดแยง ระดมสรรพกําลังและทรัพยากร
        มาปาฐกถาพิเศษ ในหัวขŒอ “วิศวกรสังคมและนวัตกรสังคมเพื่อการพัฒนา ในการแกปญหา ทักษะในการสรางนวัตกรรมในชุมชนและเกิดการพัฒนา
        ทรัพยากรมนุษยที่ยั่งยืน” เมื่อวันที่ 8 สิงหาคม 2566 ณ หŒอง World Ballroom  ทองถิ่นอยางยั่งยืน ประกอบดวยกลไกดําเนินงาน ไดแก เครื่องมือฟาประทาน
        ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด  มุงสรางทักษะวิธีคิดและทําความเขาใจความหลากหลายของสังคม เครื่องมือ
        กรุงเทพมหานคร โดยมีผูŒสนใจเขŒารับฟ˜งเปšนจํานวนมาก     นาฬกาชีวิต การทําความเขาใจจังหวะการดําเนินชีวิตและวิถีชีวิตผูคน และ
                 พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี กลาววา เมื่อวันที่ 23  เครื่องมือไทมไลนเครื่องมือในการเห็นคุณคาอดีตเขาใจปจจุบันเห็นคุณคา
        มกราคม 2560 เปนวันที่พระบาทสมเด็จพระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทร อนาคต
        มหาวชิราลงกรณ พระวชิรเกลาเจาอยูหัว โปรดเกลาฯ ใหองคมนตรีได  พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี กลาวตอวา จากการ
        เขาเฝาเปนครั้งแรก มีพระราชดํารัสเกี่ยวกับการศึกษาวา การศึกษาคือความ เดินทางไปตรวจเยี่ยมมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศไดเห็นถึงศักยภาพของ
        มั่นคงของประเทศ การศึกษาตองสรางใหคนไทยมีทัศนคติที่ดีและถูกตอง  อาจารยและนักศึกษา และเสียงสะทอนกลับของนักศึกษาที่ออกไปทํางาน
        มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง มีอาชีพมีงานทําและเกิดประโยชนตอการพัฒนาสังคม                       ไดพบวา ผูประกอบการยังมีทัศนคติที่ไมถูกตองกับมหาวิทยาลัยราชภัฏ
        คําวาการศึกษามิไดหมายถึงในโรงเรียน ในมหาวิทยาลัยเทานั้น การศึกษา ดังนั้นเพื่อใหพวกเราไดชวยกันพัฒนานักศึกษา ทําใหศักยภาพของเขาได
        ตองสรางใหคนไทยมีความมั่นคงดวย ซึ่งที่ผานมา แมตนจะทํางานดาน ถูกนํามาใช หนาที่ของอาจารยจึงไมไดจบที่การสอนแตตองชวยขับเคลื่อน
        ความมั่นคงแตไมเคยเชื่อมโยงการศึกษากับความมั่นคงเลย แตจากการได จุดแข็งของนักศึกษาใหออกมาซึ่งวิศวกรสังคมคือกลไกที่จะทําใหเราสามารถ
        มาทํางานถวายตั้งแตป 2560 ไดเดินทางไปพบปะหารือกับอธิการบดีและ พัฒนาจุดแข็งของเขาออกมาสูโลกสูสังคมสูสายตาของคนทั่วไปโดยถาเขาไป
        ผูบริหารระดับสูงของมหาวิทยาลัยราชภัฏทั่วประเทศตั้งแตป 2561 - 2563  ดูในรายละเอียดจะเห็นวาวิศวกรสังคมคือพื้นฐานของทักษะพลเมืองใน
        มีการทําความเขาใจและปรับแผน ตลอดจนกระบวนการทางความคิด                        ศตวรรษที่ 21 ทั้งนี้ จากการติดตามผลมีการนําทักษะวิศวกรสังคมไปประยุกต
        ของผูบริหารทั่วประเทศ ทําใหเกิดยุทธศาสตรการพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏ  ใชไดหลากหลายดานโดยตัวนักศึกษาเองทั้งการครองตน ครองชีวิต ครองงาน
        รวม 4 ดาน ไดแก การพัฒนาทองถิ่น การพัฒนาครู การปรับปรุงคุณภาพ เปนพื้นฐานที่มั่นคง สามารถดําเนินชีวิตไดอยางถูกตอง
        การศึกษาและการพัฒนาดานบริหารจัดการขึ้น                      การตอยอดวิศวกรสังคม ที่เราดําเนินการอยูในขณะนี้ คือการ
               สําหรับโครงการวิศวกรสังคมหรือโครงการนักศึกษาพัฒนาทองถิ่น  ริเริ่มจัดอบรมแกนนํารุนละ 40 คน ซึ่งรุนแรกไดเสร็จสิ้นไปแลว กําลังจะเปด
        ถือเปนนวัตกรรมที่ริเริ่มขึ้นเปนครั้งแรกที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี  รุนที่ 2 ซึ่งนาประทับใจที่ไดเห็นการเปลี่ยนแปลงของผูที่เขารับการอบรม
        และตอมาขยายจนทั่ว 38 แหง เปนโครงการที่เกิดขึ้นจากแนวพระราโชบาย อยางชัดเจนทําใหตระหนักวาเราเดินมาถูกทางแลว จากการที่มีเครือขาย
        ดานการศึกษาของพระบาทสมเด็จพระวชิรเกลาเจาอยูหัว 4 ประการคือ  ภาคเอกชนเขามารวมสนับสนุน จาก 12 เครือขายเพิ่มเปน 47 เครือขาย
        1) มีทัศนคติที่ถูกตองตอบานเมือง 2) มีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง 3) มีงานทํา โดยจากการสอบถามภาคเอกชนพบวา อยากใหการศึกษาตอบโจทยในดาน
        มีอาชีพ และ 4) เปนพลเมืองดี โดยไดทรงมอบหมายใหองคมนตรีติดตาม ของทักษะความสามารถเชิงสมรรถนะ ที่ชวยใหสามารถทํางานและสื่อสารกับ
        ชี้แนะมหาวิทยาลัยราชภัฏใหเขาเปาการยกระดับในการพัฒนาการศึกษาและ ผูอื่นไดอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด
        พัฒนาทองถิ่นของตน จึงเกิดการรวมตัวกันของนักศึกษา 38 มหาวิทยาลัย  ในตอนทาย พลเอก ดาวพงษ รัตนสุวรรณ องคมนตรี ไดกลาว
        ราชภัฏในการทํากิจกรรมตามอัตลักษณของมหาวิทยาลัยเพื่อการพัฒนา ขอบคุณ วช. ที่ไดใหการสนับสนุนโครงการวิศวกรสังคมมาอยางตอเนื่อง
        ทองถิ่นของตน และทําใหนักศึกษาไดแสดงศักยภาพในตัวเองดวยการลงมือ เปนเวลา 2 ป และหวังจะไดรับการสนับสนุนตอไปโดยอยากจะเห็นทุกฝาย
        ฝกปฏิบัติโดยอาศัยการเรียนรูแบบการเรียนรูเชิงรุก ในพื้นที่จริงเพื่อศึกษา ชวยกันทําใหโครงการวิศวกรสังคมประสบความสําเร็จจนกลายเปนอัตลักษณ
        ปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในชุมชน ในสังคมและทองถิ่น สรางทักษะติดตัว ของมหาวิทยาลัยราชภัฏซึ่งเปนมหาวิทยาลัยที่จะสรางคนและสรางงานได
        นักศึกษาเพื่อการดํารงชีวิตในอนาคต ไดแก ทักษะการคิดวิเคราะหเชิงเหตุผล  มากที่สุดในประเทศไทย”
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         7
   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12