Page 8 - จดหมายข่าว วช 150
P. 8

มหกรรมงานวิจัยแหงชาติ 2566 (Thailand Research Expo 2023)




         ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา ปาฐกถาพิเศษ
              “แก‹นการพัฒนาประเทศบนพื้นฐาน SEP for SDGs”










              ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา มากลาวปาฐกถาพิเศษ ในหัวขอ
       “แกนการพัฒนาประเทศบนพื้นฐาน SEP for SDGs” เมื่อวันที่ 10 สิงหาคม 2566 ณ หอง World Ballroom
       ชั้น 23 โรงแรมเซ็นทาราแกรนด และบางกอกคอนเวนชันเซ็นเตอร เซ็นทรัลเวิลด กรุงเทพมหานคร

                 ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา กลาววา  มนุษยไมวาอยูที่ไหน กําลังใชชีวิตดวยการบริโภค
          ขอขอบคุณ วช. ที่ไดเชิญมาใหทัศนะเกี่ยวกับเรื่อง การพัฒนาที่ยั่งยืน  เกินเหตุ เพราะมนุษยเปนสัตวที่ตะกละที่สุดบริโภค
          ซึ่งไมไดเปนผูเชี่ยวชาญในเรื่องนี้ แตไดมีโอกาสเรียนจากปราชญของโลก                               อยางไมมีขอจํากัด ทะเยอทะยานกระหายตลอดเวลา
          คือ พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช  ทําใหเกิดโรคตาง ๆ ที่เกิดจากการบริโภคเกินทั้งสิ้น
          บรมนาถบพิตร โดยไมไดนึกฝน เปนเวลา 35 ป วันนี้จึงขอนอมนําเรื่อง  ยาที่เรากินเขาไปหมอไมไดรักษา เปนยาลดไขมัน ยาลด
          “เศรษฐกิจพอเพียงกับความยั่งยืน” มาใหทุกคนไดทําความเขาใจอยาง นํ้าตาลเทานั้น เพียงแคลดการนําอาหารใสปากอาการปวยก็จะหายไป
          ลึกซึ้งเพราะนับตั้งแตป 2542 เราไดพบคําวา “เศรษฐกิจพอเพียง”  ลองเหลียวดูสิ่งตาง ๆ ภายในบาน มีสิ่งที่ไมมีประโยชนอยูถึงรอยละ 70
          แลวใชกันเรื่อยมา เราพูดเรื่องนี้กันมาตลอดตั้งแตนายกรัฐมนตรีจนถึง เราไมสามารถเอาชนะกิเลสได สิ่งสําคัญ คือ จํานวนประชากรที่เพิ่มสูงขึ้น
          ชาวไรชาวนา เราพูดกันแตจะมีใครรูบางวา เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร  ในรอบ 60 ป จากจํานวน 2,500 ลานคน เปน 8,000 ลานคน เมื่อไมกี่วัน
                 พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช มานี้ ในขณะที่ทรัพยากรธรรมชาติถูกใช จนปาไมและปาชายเลนหมดไป
          มหาราช บรมนาถบิตร ทรงรับสั่งเรื่องเศรษฐกิจพอเพียงมาตั้งแตป 2542  แมนํ้าเนาเสีย สิ่งแวดลอมเสื่อมโทรม แมแต PM2.5 ซึ่งเมื่อกอนไมเคยมี
          จนถึงบัดนี้ 20 ปแลว วันนี้ตนก็ยังไดรับเชิญมาพูดเรื่องนี้อีก ประเทศไทย ก็กลายเปนปญหา
          แปลกตรงที่เรามีแผน แตแผนก็คือแผน คนทําแผนก็ทําไป ประกาศใช  ระบบทุนนิยมและการคิดถึงแตเรื่องของการเติบโตทาง
          ก็ประกาศไป แตไมมีคนนําไปใชจริง                   เศรษฐกิจดวยการวัดจาก GDP ทําใหเกิดความเสียหาย ทําใหเกิดการ
                 วันนี้จึงขออัญเชิญมาอยางเปนทางการถึงคําจํากัดความ แยงชิงและตามมาดวยสงคราม โดยคาดวาอีกประมาณ 10 ปขางหนา
          คําวา “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” หรือ Sufficiency Economy  อาจจะเจอกับสงครามแยงนํ้าได และถาจะกลาวถึงการเดินทางที่ผิดพลาด
          Philosophy ซึ่งคนทั่วไปยังไมเขาใจอยางลึกซึ้ง เปนขอความ 3 ประโยค  ของไทย บางทีอาจจะเริ่มตั้งแตเมื่อตั้งสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
          ที่ทรงเตือนถึง 3 ครั้ง ยิ่งอานยิ่งทําใหเขาใจ ทรงเตือนไวลวงหนาหมดแลว  แหงชาติ ก็ใชชื่อวา สภาการเศรษฐกิจ ยังไมมีสังคม พึ่งจะมาเติมคําวา
          ทั้งสถานการณ โควิด-19 การบานการเมือง แตเราไมสนใจ ไดแตพูดเทานั้น  สังคมเมื่อเขาสูแผนพัฒนาฉบับที่ 3 โดยตนไดเขามาทํางานที่สภาพัฒนฯ
          และเราทําอยางผิวเผิน ทรงรับสั่งวา เศรษฐกิจพอเพียงเปนการดํารงอยู ในป 2512 และเห็นวา เราจะคิดถึงเศรษฐกิจอยางเดียวไมพอ ตอมาในป
          ของประชาชนทุกระดับ ครอบครัว ชุมชน ไปจนถึงระดับรัฐ การพัฒนา 2538 เมื่อมีการจัดทําแผนพัฒนาฉบับที่ 8 ในฐานะเปนนักรัฐศาสตร
          โดยเดินบนทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เปนการเตือน คนแรกที่มาเปนเลขาธิการสภาพัฒนฯ จึงเกิดแนวคิดที่จะไมเอาเงินเปน
          ครั้งที่หนึ่ง เพื่อใหกาวทันโลกยุคโลกาภิวัตน ไมใชใหกาวตามแตใหรูทัน ตัวตั้ง แตตองเอาประชาชนเปนศูนยกลางและมองปญหาสังคมใหมากขึ้น
          โลกาภิวัตน เพราะโลกาภิวัตนเปนเหรียญสองดานที่มีทั้งดีและราย ถาเปน และตอไปอาจจะตองตอทายสภาพัฒนฯ เปนสิ่งแวดลอมและการเมืองดวย
          ดานรายเราก็ไมควรรับไว                                  ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา กลาวตอวา
                 “พอเพียง” หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช
          มีภูมิคุมกัน เมื่อโลกมีการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายใน จึงทรงสอน บรมนาถบพิตร ทรงมีพระวิสัยทัศนกวางไกล ทรงรับสั่งถึงความสุขมวล
          ตอไปอีกวา เราจะตองมีความรอบคอบระมัดระวังอยางยิ่งในดานการ รวมของพลเมืองมาตั้งแตเสด็จขึ้นครองราชยดวยปฐมบรมราชโองการ
          นําวิชาการมาวางแผน ขณะเดียวกันจะตองเสริมดวยจิตใจของคนในชาติ  ที่วา “เราจะครองแผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหงมหาชนชาว
          เจาหนาที่ของรัฐ นักทฤษฎี นักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีความสํานึก สยาม” ซึ่งเปนทั้ง good governance และ SDGs แตทรงคิดเรื่อง
          ในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใชชีวิตดวยความอดทน ความเพียร  เหลานี้กอนที่สหประชาชาติ จะขับเคลื่อนสิ่งเหลานี้ในระดับโลก รวมถึง
          มีสติ มีปญญา และความรอบคอบ เปนการเตือนอีกครั้งสงทาย แสดงให ทศพิธราชธรรมที่ทรงใชเปนหลักปฏิบัติตลอดพระชนมชีพ
          เห็นวา เรื่องนี้เรื่องเดียวทรงเตือนถึง 3 ครั้ง จึงเห็นวา ทั้งเรื่องโควิด-19   นอกจากนี้ พระองคยังทรงรับสั่งถึงงานดานวิจัยและนวัตกรรม
          สถานการณการเมืองไทยที่มีการเปลี่ยนแปลงจนถึงขั้นคน 2 เจเนอเรชั่น ซึ่งนาจะเปนโจทยสําคัญที่ฝากไวให วช. วางานวิจัยและนวัตกรรมควรคิด
          พูดกันไมรูเรื่อง เปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่ทรงเตือนพวกเราแลวทั้งสิ้น ไปถึงการทําเพื่อความอยูรอดของมนุษย และอยาคิดถึงแคนวัตกรรม
                 ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา กลาวตอ จะใหเปนตัวเงินหรือเศรษฐกิจ แตตองถามดวยวา สังคมจะไดอะไร
          อีกวา อยากใหทุกคนกลับมาพิจารณาอยางตรงไปตรงมาจะพบวา ปจจุบัน จากนวัตกรรม
                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
          8                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13