Page 15 - จดหมายข่าว วช 151
P. 15

กิจกรรม วช.














        อว. เชิดชูนักวิจัยไทยพรอมลงนามสนับสนุนการเรียนรูตลอดชีวิต

        และเปดศูนยพัฒนาสิ่งประดิษฐเพื่ออนาคตและความยั่งยืน













               นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว‹าการกระทรวงการอุดมศึกษา
        วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เชิดชูนักวิจัยไทยที่ควŒารางวัลการประกวด
        นวัตกรรมนานาชาติ พรŒอมทั้งร‹วมพิธีลงนามสนับสนุนการเรียนรูŒตลอดชีวิต
        และเปดศูนยพัฒนาสิ่งประดิษฐเพื่ออนาคตและความยั่งยืน เมื่อวันที่ 21
        กันยายน 2566 ณ สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) โดยมี ดร.วิภารัตน ดีอ‹อง
        ผูŒอํานวยการสํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ และผูŒบริหาร วช. ใหŒการตŒอนรับ  การพัฒนาอยางยั่งยืนของสหประชาชาติ (SDGs) และ 4) โมเดลเศรษฐกิจ
               นางสาวศุภมาสฯ ไดแสดงความยินดีกับความสําเร็จของ BCG (Bio-Circular-Green Economy) เพื่อมุงสูวัตถุประสงคหลัก
        นักวิจัยและนักประดิษฐไทย ที่ไดสรางชื่อเสียงใหกับประเทศในเวที ของแผนพัฒนาฯ คือการ “พลิกโฉม” ประเทศไทย สู “สังคมกาวหนา
        ระดับนานาชาติ ที่ไดกาวไปสูระดับนานาชาติและไดรับรางวัลมาแสดง เศรษฐกิจสรางมูลคาอยางยั่งยืน” จากนั้น นางสาวศุภมาสฯ ไดเยี่ยมชม
        ใหเห็นถึงศักยภาพของนักวิจัยและนักประดิษฐไทยที่ไมแพชาติใดในโลก  ผลงานที่คณะนักวิจัยไดนําไปประกวดใน 2 เวทีระดับนานาชาติ ไดแก
        สามารถนําผลงานประดิษฐมาพัฒนาตอยอดจนนําไปสูการใชประโยชน 1) เวที “WorldInvent Singapore 22+23” (WoSG) ณ สาธารณรัฐ
        อยางแพรหลาย นักประดิษฐและนักวิจัยไทยถือเปนฟนเฟองสําคัญ สิงคโปร และ 2) เวที “Indonesia Inventors Day 2023” (IID 2023)
        ในการพัฒนาประเทศ  ในมิติตาง ๆ และนําไปสูความกาวหนาทางวิชาการ  ณ สาธารณรัฐอินโดนีเซีย ซึ่งไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติ
        การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอยางยั่งยืน กระทรวง อว.  และควารางวัลใหญกลับมาสรางชื่อเสียงใหกับประเทศไทย
        การพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศอยางยั่งยืน กระทรวง อว.
        ไดใหความสําคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมีความกาวหนา
        ไดใหความสําคัญในการพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมใหมีความกาวหนา  จากนั้น นางสาวศุภมาสฯ ไดเปนประธานในพิธีลงนามบันทึก
        อยางรวดเร็ว เพื่อชวยขับเคลื่อนประเทศกาวเดินไปขางหนา ตามแผน
        อยางรวดเร็ว เพื่อชวยขับเคลื่อนประเทศกาวเดินไปขางหนา ตามแผน ขอตกลงความรวมมือ “การสงเสริมการศึกษานอกหองเรียนเสริมสราง
        พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 ซึ่งไดกําหนดทิศทาง ทักษะการเรียนรู” ระหวาง สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) และ
        พัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 13 ซึ่งไดกําหนดทิศทาง
        การพัฒนาบนพื้นฐานของหลักการแนวคิดที่สําคัญ 4 ประการ ไดแก
        การพัฒนาบนพื้นฐานของหลักการแนวคิดที่สําคัญ 4 ประการ ไดแก  สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) โดยมี ดร.วิภารัตนฯ
        1) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) แนวคิด Resilience 3) เปาหมาย
        1) ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) แนวคิด Resilience 3) เปาหมาย และ นายอัมพร พินะเส เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                                              รวมลงนามบันทึกขอตกลงความรวมมือ ซึ่งจะกอใหเกิดการสงเสริม
                                                              ผลักดัน  การเพิ่มพูนประสบการณในการเรียนรูและพัฒนาทักษะ
                                                              ของเยาวชนโดยเนนประสบการณเรียนรูนอกหองเรียน และปลูกฝง
                                                              คุณลักษณะของการเปนผูใฝเรียนรูตลอดชวงชีวิต ตอจากนั้น ไดเปน
                                                              ประธานเปดศูนยพัฒนาสิ่งประดิษฐเพื่ออนาคตและความยั่งยืน ที่ วช.
                                                              กอตั้งขึ้นเพื่อนําเสนอสิ่งประดิษฐเพื่อสรางแรงบันดาลใจใหแกเยาวชน
                                                              นักวิจัยและนักประดิษฐรุนใหมในการพัฒนาสิ่งประดิษฐและนวัตกรรม
                                                              ใหมีประสิทธิภาพ
                                                                     วช. ภายใตกระทรวง อว. เล็งเห็นความสําคัญในการจัดใหมี
                                                              กิจกรรมการสงเสริมและสนับสนุนใหนักประดิษฐและนักวิจัยไทยไดนํา
                                                              ผลงานประดิษฐคิดคนผลงานวิจัยไปรวมประกวดและจัดแสดงในเวที
                                                              นานาชาติตาง ๆ วช. จึงไดมีการจัดกิจกรรมดังกลาวมาอยางตอเนื่องและ
                                                              เปนรูปธรรมมาตลอดระยะเวลากวา 10 ปที่ผานมา เพื่อประชาสัมพันธ
                                                              และเชิดชูเกียรตินักประดิษฐและนักวิจัยไทยใหสาธารณชนไดรับทราบ
                                                              อยางกวางขวาง
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         15
   10   11   12   13   14   15   16