Page 14 - จดหมายข่าว วช 151
P. 14
ความรวมมือกับตางประเทศ
วช. ตอนรับผูแทนจาก
วช. ตอนรับผูแทนจาก
วช. ตอนรับผูแทนจาก
วช. ตอนรับผูแทนจาก China Institute of Contemporary International Relation (CICIR) China Institute of Contemporary International Relation (CICIR) China Institute of Contemporary International Relation (CICIR) China Institute of Contemporary International Relation (CICIR)
สาธารณรัฐประชาชนจีน และศูนยศึกษายุทธศาสตร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ.
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นางสาวศิรินทรพร เดียวตระกูล
ผูเชี่ยวชาญดานระบบวิจัย พรอมดวย นางสาวขวัญศิริ วันวิเวก ผูอํานวยการ
กลุมวิเทศสัมพันธ ใหการตอนรับ Prof. Hu Jiping รองประธานสถาบัน
China Institute of Contemporary International Relation (CICIR)
สาธารณรัฐประชาชนจีน และคณะ รวมทั้งคณะผูบริหารและนักวิจัยจาก
ศูนยศึกษายุทธศาสตร สถาบันวิชาการปองกันประเทศ กองบัญชาการ
กองทัพไทย เมื่อวันที่ 19 กันยายน 2566 โดยการเยือนของสถาบัน CICIR
ในครั้งนี้มีวัตถุประสงคเพื่อหารือและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นดาน
ความสัมพันธของจีนที่มีตอภูมิภาคอาเซียนในแงมุมดานการเมือง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม และการสรางความรวมมือระหวางกันในอนาคต
ซึ่งประเด็นในการพูดคุยประกอบดวย 1) นโยบาย ‘วีซาฟรี’ 2) ขอคิดริเริ่ม
ความมั่นคงระดับโลก (Global Security Initiative; GSI) 3) ความรวมมือ
ลานชาง-แมโขง และ 4) การกอสรางรถไฟฟาความเร็วสูงการพบปะกัน
ในครั้งนี้ มีสวนสําคัญอยางยิ่งตอการสรางความไวเนื้อเชื่อใจระหวางประเทศ
และกอใหเกิดการดําเนินกิจกรรมเพื่อผลประโยชนรวมกัน และสามารถ
ขยายผลไปสูความรวมมือดานอื่น ๆ โดยเฉพาะความรวมมือทางการวิจัย
ระหวางประเทศ
วช. แลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณดานพลังงานของประเทศไทยและเกาหลี
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา สิ่งแวดลอม นางสาวขวัญศิริ วันวิเวก ผูอํานวยการกลุมวิเทศสัมพันธ และ
วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ เจาหนาที่ วช. รวมใหการตอนรับ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดมอบหมายให นางสาวสตตกมล เกียรติพานิช การแลกเปลี่ยนมุมมองและประสบการณในครั้งนี้ทําใหทราบถึง
ผูอํานวยการกองบริหารทุนวิจัยและนวัตกรรม 2 ใหการตอนรับหนวยงาน แนวทางการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยดานพลังงานของประเทศไทย
แนวทางการสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยดานพลังงานของประเทศไทย
ภาครัฐและเอกชนดานพลังงานของเกาหลี ประกอบดวย หนวยงาน และเกาหลีทั้งในสวนของภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการกระตุน
และเกาหลีทั้งในสวนของภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะการกระตุน
เศรษฐกิจผานการสงเสริมภาคอุตสาหกรรมและบริษัทตาง
Korea Smart Grid Institute (KSGI), Jeonnam Technopark (JNTP), เศรษฐกิจผานการสงเสริมภาคอุตสาหกรรมและบริษัทตาง ๆ ๆ
ของเกาหลี รวมถึงนโยบายการวิจัยและพัฒนา (R&D)
และ Jeonnam Institute for Regional Program Evaluation ของเกาหลี รวมถึงนโยบายการวิจัยและพัฒนา (R&D)
(IRPE) เมื่อวันที่ 17 สิงหาคม 2566 ณ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ ดานพลังงานโดยเฉพาะเรื่องสมารทกริด
ดานพลังงานโดยเฉพาะเรื่องสมารทกริด
(Smart Grids) และการลงทุนดาน
โดยมีผูทรงคุณวุฒิ ดร.ขวัญฤดี โชติชนาทวีวงศ ผูทรงคุณวุฒิ วช. และ (Smart Grids) และการลงทุนดาน
ทรัพยากรบุคคลผานการเชื่อมโยงความ
รองศาสตราจารย ดร.สุขุม อิสเสงี่ยม คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัย ทรัพยากรบุคคลผานการเชื่อมโยงความ
รวมมือในประเทศและระหวางประเทศ
เชียงใหม และผูบริหาร วช. ไดแก นางสาวกรรณิกา ดุรงคเดช ผูอํานวยการ รวมมือในประเทศและระหวางประเทศ
ภารกิจการวิจัยและนวัตกรรมของประเทศดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
14 National Research Council of Thailand (NRCT)