Page 16 - จดหมายข่าว วช 151
P. 16

กิจกรรม วช.


                  การสัมมนา “กระบวนการยุติธรรม 5G เพื่อพัฒนานวัตกรรม“กระบวนการยุติธรรม 5G เพื่อพัฒนานวัตกรรม“กระบวนการยุติธรรม 5G เพื่อพัฒนานวัตกรรม
                  การสัมมนา
                  การสัมมนา
                  การป‡องกันอาชญากรรมในสถานการณวิกฤติในประเทศไทย :
         สถานการณการแพร‹ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปšนกรณีศึกษา”













                                                              นวัตกรรมการปองกันอาชญากรรมชวงสถานการณวิกฤติในประเทศไทย
                                                              ซึ่งนับเปนการดําเนินงานที่สามารถตอบโจทยและเปนการจัดการกับปญหา
                                                              อาชญากรรมในสถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
                                                              ที่สําคัญโดยสะทอนใหเห็นถึงการศึกษาและสรางนวัตกรรมที่นํามาใชเปน
                                                              แนวทางในการปองกันโดยการสงเสริมการใชประโยชนจากเทคโนโลยีดิจิทัล
                                                              แพลตฟอรมที่ทันสมัย รวมทั้งการใชวิทยาศาสตร วิจัย และนวัตกรรมมาเพิ่ม
               สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  ประสิทธิภาพและยกระดับกระบวนการยุติธรรมในหลากหลายมิติ และจาก
        วิจัยและนวัตกรรม รวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล จัดสัมมนาและเผยแพรผลงาน การทํางานตอเนื่องของแผนงานวิจัยตั้งแตชวงการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
        วิจัยและนวัตกรรม “กระบวนการยุติธรรม 5G เพื่อพัฒนานวัตกรรมการปองกัน ไวรัสโคโรนา 2019 จนถึงปจจุบันเราสามารถถอดบทเรียนจากการทํางาน
        อาชญากรรมในสถานการณวิกฤติในประเทศไทย : สถานการณการแพรระบาด รวมกันเพื่อนํามาใชรับมือกับสถานการณของโรคอุบัติใหม หรือสถานการณ
        ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนกรณีศึกษา” เมื่อวันที่ 15 กันยายน 2566  วิกฤติที่อาจจะเกิดขึ้นไดในอนาคต
        ณ โรงแรมรามา การเดนส กรุงเทพมหานคร โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ  การจัดสัมมนาเผยแพรผลงานวิจัยและนวัตกรรมของแผนงาน
        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานในพิธีเปดการสัมมนาฯ พรอมดวย  “กระบวนการยุติธรรม 5G เพื่อพัฒนานวัตกรรมการปองกันอาชญากรรมใน
        รองศาสตราจารย ดร.สุณีย กัลปยะจิตร ผูจัดการแผนงาน กลาวรายงาน  สถานการณวิกฤติในประเทศไทย : สถานการณการแพรระบาดของโรคติดเชื้อ
        ซึ่งภายในงาน   ไดรับเกียรติจากพลตํารวจตรี ธีรเดช ธรรมสุธีร ผูบังคับการสืบสวน ไวรัสโคโรนา 2019 เปนกรณีศึกษา” ในครั้งนี้ มีการนําเสนอและสรุปผล
        สอบสวน กองบัญชาการตํารวจนครบาล กลาวปาฐกถาพิเศษ เรื่อง “แนวโนม การวิจัย กระบวนการยุติธรรม 5G เพื่อพัฒนานวัตกรรมการปองกันอาชญากรรม
        อาชญากรรมในชวงสถานการณวิกฤติในประเทศไทยและการปองกันในอนาคต” ในสถานการณวิกฤติในประเทศไทย : สถานการณการแพรระบาดของโรคติด
               วช. มีการสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมในหลายมิติทั้งดาน เชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เปนกรณีศึกษา และการเสวนาหัวขอ “นวัตกรรม 5G
        เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา และสุขภาพ รวมถึงดานกระบวนการยุติธรรม  สูการปองกันอาชญากรรมในสถานการณวิกฤติ” โดยมีผูใหความสนใจเขารวม
        ซึ่งมีการดําเนินการรวมกับมหาวิทยาลัยมหิดล และภาคีเครือขายในการพัฒนา งานทั้งแบบ online และ onsite กวา 150 คน

               พิธีลงนามบันทึกตกลงความรวมมือดานวิจัยและพัฒนาการทหาร ระหวางกองทัพอากาศกับ วช.

                                                        พลอากาศเอก อลงกรณ วัณณรถ ผูบัญชาการทหารอากาศ เปนประธานรวมกับ ดร.วิภารัตน
                                                 ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานวิจัยแหงชาติ ในพิธีลงนามบันทึกขอตกลงวาดวยความรวมมือดาน
                                                 วิจัยและพัฒนาการทหาร ระหวางกองทัพอากาศ กับ สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวง
                                                 การอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เพื่อรวมมือกันดานการวิจัยในการพัฒนาประเทศ
                                                 โดยใชวิจัยและนวัตกรรมที่มีอยูใหเกิดประโยชน เมื่อวันที่ 21 สิงหาคม 2566 ณ หองรับรองพิเศษ 1
                                                 กองบัญชาการกองทัพอากาศ
                                                        กองทัพทหารอากาศ ไดใหความรวมมือกับ วช. ในดานงานวิจัยในการพัฒนาประเทศ
                                                 โดยใชทรัพยากรที่มีอยูใหเกิดประโยชนสูงสุด วช. เปนหนวยงานภาครัฐหลักในการสนับสนุน
                                                 การดําเนินงานดานการวิจัย และสรางนวัตกรรมที่สําคัญของประเทศ ใหการสงเสริมบุคลากร
                                                 ดานการวิจัยและถายทอดความรูเพื่อผลประโยชนของชาติบันทึกขอตกลงฉบับนี้ เปนเพียงสวนหนึ่ง
                                                 ของความรวมมือเพื่อความเจริญกาวหนาของหนวยงานและประเทศชาติ และที่สําคัญของ
                                                 การลงนามในบันทึกขอตกลงความรวมมือในครั้งนี้ กองทัพอากาศและ วช. ไดเล็งเห็นความสําคัญ
                                                 ดานการวิจัยและพัฒนาการทหาร และไดตระหนักถึงประเด็นความมั่นคงและการปองกันประเทศ
                                                 จึงไดมุงเนนการนํานวัตกรรมที่จะไปเพิ่มสมรรถนะยุทโธปกรณ โดยการลดการพึ่งพาเทคโนโลยีจาก
                                                 ตางประเทศ ซึ่งการลงนามความรวมมือที่เกิดขึ้นนับเปนโอกาสอันดีอยางยิ่งที่ไดมีการบูรณาการ
                                                 ความรวมมือเพื่อรวมกันเพื่อสรางความเขมแข็งใหกับระบบวิจัยในดานความมั่นคง ของประเทศ
                                                 ตอไป

                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         16                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   11   12   13   14   15   16