Page 11 - จดหมายข่าว วช 152
P. 11

งานวิจัย : พลังงานและสิ่งแวดลอม
                   งานวิจัย : พลังงานและสิ่งแวดลอม

                                      การพัฒนากระบวนการทําแหงชีวภาพ                        Eco Energy

                                      เพื่อการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิงขยะ
















               สํานักงานการวิจัยแห‹งชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร  และมีคาความรอนขั้นตํ่า (LHV) 5,406 kcal/kg เมื่อดําเนินการทําแหงไว
        วิจัยและนวัตกรรม ไดŒใหŒการสนับสนุนทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลŒา จนถึงวันที่ 7 สามารถลดความชื้นลงเหลือนอยกวารอยละ 25 คาความรอน
        ธนบุรี พัฒนากระบวนการทําแหŒงชีวภาพเพื่อการปรับปรุงคุณภาพเชื้อเพลิงขยะ  ขั้นตํ่า (LHV) 5,641 kcal/kg เมื่อพิจารณาถึงการลดคาดําเนินการโดยใหมีการ
        ซึ่งเปšนการพัฒนาเทคโนโลยี Biodrying โดยอาศัยหลักการทํางานของจุลินทรีย กลับกองเพียงครั้งเดียวในวันที่ 3 จากการทดลอง 5 วันแตลดอัตราอากาศลง
        ดŒวย Biological digestion และอาศัยหลักการทาง Thermodynamic ในการ บางสวน ที่ระดับความสูงกอง 1.2 เมตร พบวา RDF มีความชื้นเหลือนอยกวา
        ไล‹ความชื้นออกแบบ Physical drying ซึ่งกลไกทั้งสองจะถูกศึกษาดŒวยปริมาณ รอยละ 23 และมีคาความรอนขั้นตํ่า (LHV) 4,148 kcal/kg และระยะที่ 3
        และรูปแบบการเติมอากาศเขŒาไปในระบบ ทั้งนี้เพื่อตŒองการลดความชื้นจากขยะมูลฝอย  เปนการประเมินความคุมคาทางเศรษฐศาสตรในการลงทุนดวยกําลังการผลิต
        ขณะเดียวกันก็จะเพิ่มความรŒอนใหŒเชื้อเพลิงมูลฝอยดŒวย โดยไดŒตั้งเป‡าหมาย 50 ตันตอวัน เปนระยะเวลา 15 ป โครงการจะมีรายรับรวมทั้งสิ้น 3.65 ลานบาท
        ในการลดระดับความชื้นของขยะที่เท‹ากับหรือนŒอยกว‹ารŒอยละ 30 และมีค‹าความรŒอน ตอป มีคา IRR เทากับ 18.56% Payback period ที่ 3.8 ตอป อยางไรก็ตาม
        มากกว‹า 4,000 Kcal/kg โดยใชŒระยะเวลาไม‹เกิน 7 วัน ซึ่งโครงการวิจัยนี้สามารถ ในการประเมินนี้อยูในเงื่อนไขการรับซื้อ RDF (ราคาและปริมาณ) ซึ่งกําหนด
        นําไปขยายผลเชิงพาณิชย โดยสรŒางและใชŒงานจริงทั้งในประเทศและต‹างประเทศ  โดยผูซื้อ RDF ในทองตลาด
               ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ ไดกลาวถึง  สําหรับประโยชนในการนําไปใช รวมถึงจุดเดนของโครงการ
        การสนับสนุนการวิจัยของ วช. วา วช. ภายใตกระทรวง อว. ถือเปนกลไกสําคัญ ดานเศรษฐกิจชวยลดการนําเขาเชื้อเพลิงฟอสซิลและลดตนทุนคาเชื้อเพลิง
        ของรัฐในการขับเคลื่อนใหการสนับสนุนงานวิจัย สิ่งประดิษฐคิดคน หรือ ในภาคอุตสาหกรรม เกิดมูลคาทาง Circular Economy ตลอดทั้ง Supply
        นวัตกรรมตาง ๆ ที่เปนประโยชนตอประชาชน รวมถึงการสงเสริมพัฒนา Chain ของขยะมูลฝอยชุมชน ลดคาใชจายในการบริหารจัดการและกําจัด
        คุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม ปญหาขยะนับเปนปญหาที่ถูกยกเปนวาระแหงชาติ ขยะ และสรางความมั่นคงดานพลังงานของประเทศ ดานสังคม ชุมชนและ
        ที่ตองรีบแกไข ซึ่งจากขอมูลปริมาณขยะพลาสติกทั่วประเทศพบวามีปริมาณ สิ่งแวดลอม เปนตนแบบโครงการบริหารจัดการขยะ โดยนํามาผลิตเปนเชื้อเพลิง
        เฉลี่ย 68,000 ตัน/วัน รวมถึงรัฐบาลไทย เสนอ Energy Blueprint เปนแผน RDF โดยมีตนทุนไมสูง สามารถดําเนินการและแกปญหาขยะใหกับชุมชน
        พัฒนาพลังงานระยะยาวของประเทศ มีเปาหมายในการเพิ่มผลิตกระแสไฟฟา  ไดจริง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น ลดปญหาดานสิ่งแวดลอมจากการ
        จากขยะ 500 MW และผลิตความรอน 495 ktoe ภายในป 2036 โดยสงเสริม กําจัดขยะแบบไมถูกหลักสุขาภิบาลและขยะลนเมือง เกิดการสรางงานและ
        ใหมีโรงคัดแยกและผลิตพลังงานจากขยะแบบครบวงจร แตปญหาหลักคือขยะ  รายไดสูชุมชน และลดการปลอยกาซเรือนกระจก (Greenhouse Gas)
        มีความชื้นสูง วช. จึงไดใหการสนับสนุนทีมวิจัยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี สูสิ่งแวดลอม ซึ่งเปนสาเหตุหลักของภาวะโลกรอน
        พระจอมเกลาธนบุรีในการพัฒนากระบวนการทําแหงชีวภาพเพื่อการปรับปรุง  การขยายผลในงานวิจัยครั้งนี้ คาดวาสามารถพัฒนาตอยอด
        คุณภาพเชื้อเพลิง เพื่อยกระดับคุณภาพพลังงานทางเลือกอยางยั่งยืน  เชิงพาณิชยในอนาคตได ทําใหเกิดเปนนวัตกรรมตนแบบสําหรับเทคโนโลยี
               ผูชวยศาสตราจารย ดร.คมศิลป วังยาว นักวิจัยดานพลังงานและ การผลิตเชื้อเพลิงคุณภาพสูงจากขยะมูลฝอยของประเทศไทยที่มีความคุมคา
        สิ่งแวดลอม แหง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี กลาวถึงความ ทางเศรษฐศาสตร เพื่อแกปญหาดานคุณภาพของ RDF ที่สงผลกับการใชงานของ
        สําคัญของโครงการวิจัยวา โครงการวิจัยนี้แบงการทดลองเปน 3 ระยะ ไดแก  ผูใชในภาคอุตสาหกรรมไดโดยตรง ทั้งนี้ยังสามารถนําไปขยายผลเชิงพาณิชย
        ระยะที่ 1 เปนการวิจัยในระดับ Lysimeter เพื่อเขาใจกลไกของการไลความชื้น โดยการสรางโครงการปรับปรุงคุณภาพ RDF ดวยกระบวนการทําแหงชีวภาพ
        ของระบบการผานรูปแบบการใหปริมาณอากาศและการหมุนเวียนอากาศ ที่สามารถใชงานไดจริง ไมวาจะเปนภาครัฐหรือเอกชนทั้งในประเทศและตาง
        ที่แตกตางกัน เมื่อใชอัตราการดูดอากาศที่เหมาะสมแบบตอเนื่อง หลังดําเนินการ  ประเทศตอไป
        5 วัน RDF มีคาความชื้นเหลือนอยกวารอยละ 33 และมีคาความรอนขั้นตํ่า
        (LHV) 4,933 kcal/kg การดูดอากาศตอเนื่องดวยรูปแบบการปรับลดอัตรา
        อากาศที่เหมาะสม หลังดําเนินการ 5 วัน RDF มีคาความชื้นเหลือนอยกวา
        รอยละ 24 และมีคาความรอนขั้นตํ่า (LHV) 4,787 kcal/kg ระยะที่ 2 เปนการ
        ทดลองในระดับ pilot เพื่อทดสอบตัวแปรและเปรียบเทียบขอไดเปรียบของ
        กระบวนการ biodrying ระบบตนแบบที่มีการบรรจุ Feedstock ไวที่ความสูง
        1.2 เมตร และมีการกลับกองรวมดวยนั้น พบวาการดําเนินงานดวยอัตราการ
        ดูดอากาศที่เหมาะสม รวมกับการกลับกองมูลฝอยเปนจํานวน 2 ครั้ง ระหวาง
        การทดลองในระยะเวลา 5 วัน RDF มีคาความชื้นเหลือนอยกวารอยละ 27
         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         National Research Council of Thailand (NRCT)                                                         11
   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15   16