Page 14 - จดหมายข่าว วช 152
P. 14

กิจกรรม วช.


                        ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวง อว. มอบนโยบายในการขับเคลื่อนโครงการวิจ
                        ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวง อว. มอบนโยบายในการขับเคลื่อนโครงการวิจ
                        ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวง อว. มอบนโยบายในการขับเคลื่อนโครงการวิจัยัยัยัย
                        ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวง อว. มอบนโยบายในการขับเคลื่อนโครงการวิจ
                    และขยายผลการวิจัยเพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน










               แพทยหญิงเพชรดาว โตะมีนา ที่ปรึกษารัฐมนตรีวาการ ที่ใหความสําคัญในกลุมของเด็กและเยาวชน 4) การหาแนวทางการ
        กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม เปนประธาน เสริมสรางความเทาเทียมในการเขาถึงโอกาสในการพัฒนาอยางยั่งยืน
        ในการประชุมเพื่อเตรียมแผนและการสนับสนุนโครงการในปงบประมาณ  อาทิ มิติทางการแพทย สาธารณสุข และ 5) การสรางความรวมมือ
        2567 ในการขับเคลื่อนโครงการวิจัยเพื่อการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต  ที่ใหความสําคัญกับการเขาถึงพื้นที่และชุมชน เพื่อการยกระดับคุณภาพ
        โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ  ชีวิตใหเกิดผลสําเร็จที่เปนรูปธรรมและมีประสิทธิภาพอยางชัดเจน
        คณะผูบริหารและเจาหนาที่ วช. พรอมดวยคณะทํางานที่ปรึกษารัฐมนตรี  ภายหลังการประชุม ที่ปรึกษารัฐมนตรีกระทรวง อว. และคณะ
        วาการกระทรวง อว. รวมหารือและแลกเปลี่ยนขอคิดเห็น เมื่อวันที่  ไดรวมเยี่ยมชมสวนภูมิทัศนพรรณไม วช.  โดยการจัดเปนสวนภูมิทัศนและ
        16 ตุลาคม 2366 ณ หองประชุมพลโทพระยาศัลวิธานนิเทศ ชั้น 3  นําตนไมบําบัดฝุนที่ไดจากการศึกษาวิจัยมาจัดเปนสวนพรรณไมบําบัด
        อาคาร วช. 2 สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)           ฝุน PM2.5 ตนแบบ เพื่อติดตามประเมินผลและใชขอมูลในการพัฒนา
               ในการรวมหารือไดขอสรุปในทิศทางการสนับสนุนการวิจัย สิ่งแวดลอมที่ดีในชุมชนเมือง โดยมี รองศาสตราจารย ดร.ชัยรัตน ตรีทรัพยสุนทร
        และขยายผลในประเด็นสําคัญ ดังนี้ 1) แนวทางการดําเนินการสงเสริม จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี และทีมนักวิจัย ไดนําชม
        และสนับสนุนการวิจัยและนวัตกรรมในพื้นที่จังหวัดชายแดนภาคใต  และใหขอมูลสวนพรรณไมบําบัดฝุน PM2.5
        ใหเกิดความมั่นคงควบคูไปกับการวิจัยที่สอดคลองความตองการของพื้นที่
        2) การผลักดันการใชประโยชนผลงานวิจัยและนวัตกรรมในการแกปญหา
        เชิงพื้นที่ อาทิ การเสริมสรางทักษะอาชีพ การเปดโอกาสสูการเรียนรู
        ทางภาษา การเพิ่มมาตรฐานอาหารและสินคาพื้นถิ่น และการสงเสริม
        การสรางนวัตกรรมเพื่อกลุมทองถิ่น 3) การเพิ่มโอกาสทางการศึกษา

                                     วช. ยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสิ่งประดิษฐ ระดับอาชีวศึกษา


                                                สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม
                                         จัดประชุมเพื่อชี้แจงกรอบการใหทุนภายใตโครงการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสิ่งประดิษฐ
                                         ระดับอาชีวศึกษา (Invent Plus) ประจําปงบประมาณ 2567 โดย ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการ
                                         สํานักงานการวิจัยแหงชาติ เปนประธานกลาวเปดงานและปาฐกถาพิเศษ ในหัวขอ “ความจําเปน
                                         และความสําคัญของการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสิ่งประดิษฐระดับอาชีวศึกษา” พรอมดวย
                                         ผูบริหาร วช. ผูทรงคุณวุฒิ และอาจารยที่ปรึกษาของผลงานนวัตกรรมระดับอาชีวศึกษา เขารวมงาน
                                         เมื่อวันที่ 20 ตุลาคม 2566 ณ หอง Ballroom AB โรงแรมมารวยการเดน กรุงเทพมหานคร
               โดยที่ผานมา วช. และ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) ไดตระหนักถึงการสงเสริมสิ่งประดิษฐและนวัตกรรมใหมีมาตรฐาน
        และคุณภาพรวมไปถึงการพัฒนาบุคลากรในการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสิ่งประดิษฐอาชีวศึกษาใหสอดคลองกับความตองการของตลาดแรงงาน
        ในดานการพัฒนากําลังคน วช. ไดใหความสําคัญในเรื่องของกรอบการใหทุนภายใตโครงการยกระดับคุณภาพและมาตรฐานสิ่งประดิษฐระดับอาชีวศึกษา
        (Invent Plus) ประจําปงบประมาณ 2567 เพื่อเพิ่มเติม พัฒนา สนับสนุนและตอยอดขยายผลสิ่งประดิษฐใหมีประสิทธิภาพ คุณภาพ และมาตรฐาน
        ใหเปนที่ยอมรับและตรงกับความตองการของผูประกอบการ และการผลิตที่จะนําไปพัฒนาประเทศยกระดับคุณภาพ
        และมาตรฐานสิ่งประดิษฐ ระดับอาชีวศึกษาอยางยั่งยืน
               ทั้งนี้ การชี้แจงกรอบการใหทุนดังกลาว จะนําไปสูการสรางความเขมแข็งในดานระบบวิจัยและพัฒนา
        นวัตกรรม การจัดการความรูดานอาชีพภายใตบทบาทหนาที่และการใหบริการวิชาชีพ เกิดเครือขายความรวมมือ
        ที่เขมแข็งและรวมขับเคลื่อนการพัฒนากําลังคน เยาวชน ในระดับอาชีวศึกษาที่เชื่อมโยงกับพื้นที่กลุมจังหวัดไดอยาง
        มีประสิทธิภาพ โดยเฉพาะเยาวชนซึ่งเปนอนาคตของชาติ และบุคลากรระดับอาชีวศึกษาตอไป








                                                                                     สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
         14                                                                          National Research Council of Thailand (NRCT)
   9   10   11   12   13   14   15   16