Page 14 - จดหมายข่าว วช 155
P. 14

กิจกรรม วช.

                       วช. สรางสรรคจินตนาการของเยาวชน เพื่อสรางแรงบัลดาลใจ


                     ในการประยุกตสิ่งตาง ๆ รอบตัว ในคาราวานวิทยาศาสตร อพวช.















                 กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม (อว.) โดยสํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) รวมจัดแสดงนิทรรศการผลงานวิจัยและ
          สิ่งประดิษฐในงาน “คาราวานวิทยาศาสตร อพวช.” จัดโดย องคการพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรแหงชาติ (อพวช.) เพื่อสรางความรู ความเขาใจและโอกาสในการเขาถึง
          ดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีใหแกเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนในระดับภูมิภาค ในลักษณะของพิพิธภัณฑวิทยาศาสตรเคลื่อนที่ ในทั่วทุกภูมิภาค
          ของประเทศไทย ระหวางวันที่ 12 – 15 ธันวาคม 2566 ณ หอประชุมกาญจนาภิเษกเฉลิมพระเกียรติ 84 พรรษา โรงเรียนกาญจนาภิเษกวิทยาลัยกาฬสินธุ
          ตําบลคุมเกา อําเภอเขาวง จังหวัดกาฬสินธุ โดยมี นายสถาพร ภูบาลเชา รองผูอํานวยการสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากาฬสินธุ เปนประธานในการ
          เปดกิจกรรม โดย วช. ไดรวมสรางสรรคจินตนาการของเยาวชน เพื่อสรางแรงบันดาลใจในการประยุกตสิ่งตาง ๆ รอบตัวผานกิจกรรม “พวงกุญแจจากเศษผาคราม
          สีธรรมชาติ” และ “การสรางสรรคลายผาดวยสีธรรมชาติ” นําโดย อาจารยแสนสุรีย เชื้อวังคํา และอาจารยอํานาจ สุนาพรม แหง มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
          พรอมคณะ ใหเกียรติเปนวิทยากรในการจัดกิจกรรมดังกลาว ซึ่งไดรับความสนใจจากเยาวชนโดยเขารวมกิจกรรมเปนจํานวนมาก
                 โดย “พวงกุญแจจากเศษผาครามสีธรรมชาติ” เปนงานประดิษฐที่ใชทักษะดานการตัดเย็บพื้นฐาน วิธีการทําไมยุงยาก ไมซับซอน ใชเศษผาฝายยอม
          สีครามและสีธรรมชาติที่เหลือจากการใชงานมาสรางมูลคาเพิ่ม การนําเศษผามาเย็บแตละดอกทําใหเกิดสีและลวดลายที่แปลกใหมขึ้น โดยเด็กสามารถสลับสี
          เติมแตงตามจินตนาการของตนเอง  ซึ่งสรางความสนุกสนานใหกับเด็ก ๆ เปนอยางมาก
                 “การสรางสรรคลายผาดวยสีธรรมชาติ” เปนกิจกรรมเชิงรักษโลกดวยการนําเอาเทคนิคการยอมผาทั้งแบบเย็นและรอน ซึ่งผาที่ผานการยอมจะให
          โทนสีตั้งแตเขียวไปจนถึงนํ้าเงินเขม และเมื่อนํามาสรางสรรคลวดลายผา จะเกิดสีสันและลวดลายที่แปลกใหม เพิ่มความนาสนใจมากขึ้น การใชสีจากธรรมชาติ
          มาสรางสรรคงานศิลปะ เปนการสรางคุณคาและมูลคาสามารถตอยอดเปนอาชีพในอนาคตได















                 โดยกิจกรรม “คาราวานวิทยาศาสตร อพวช.” ระหวางวันที่ 19 - 22 ธันวาคม 2566 ณ โรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล อําเภอเรณูนคร จังหวัดนครพนม
          เปนชุดเรียนรูกระจกเปลี่ยนสีกักเก็บพลังงาน เปนชุดการเรียนรูที่ทํางานโดยใชหลักการอิเล็กโตรโครมิก เปนปรากฏการณกักเก็บประจุไฟฟาของแบตเตอรี่และ
          ตัวเก็บประจุ จึงทําใหอุปกรณชนิดนี้สามารถเปลี่ยนสีไดเมื่อชารจไฟฟาเขาไปและคายประจุไฟฟาไดเมื่อกลับสูสภาวะสีใส โดยชุดการเรียนรูนี้จะทําใหเขาใจ
          หลักการทํางานของปรากฏการณอิเล็กโตรโครมิก ผสมผสานกับหลักการของแบตเตอรี่และตัวเก็บประจุ โดยแสดงผลการทํางานผานการตอหลอดแอลอีดี
          รวมถึงเขาใจการตอวงจรไฟฟาแบบอนุกรมเพื่อเพิ่มแรงดันไฟฟา
                 ภายในงานนักเรียนไดสนุกไปกับนิทรรศการวิทยาศาสตรเคลื่อนที่ ชุด Science for Fun ชวนทดลองเลนและคนหาคําตอบไดดวยตนเองในรูปแบบ
          นิทรรศการสื่อสัมผัสที่เกี่ยวกับวิทยาศาสตรพื้นฐาน และสนุกไปกับการทดลองทางวิทยาศาสตร เกม และของเลนวิทยาศาสตร พรอมชมการแสดงทางวิทยาศาสตร
          (Science Show) ที่เยาวชนจะสนุก ตื่นเตน พรอมไดรับสาระความรูวิทยาศาสตรใกลตัว
                 สําหรับงาน “คาราวานวิทยาศาสตร อพวช.” มีกําหนดจัดขึ้นระหวางเดือนพฤศจิกายน 2566 - กุมภาพันธ 2567 โดย วช. จะรวมนําผลงานวิจัยและ
          สิ่งประดิษฐไปจัดแสดงและฝกอบรมใหกับเยาวชน นักเรียน นักศึกษา และประชาชนผูสนใจในครั้งตอไปอีก 4 จังหวัดทั่วประเทศ ไดแก จังหวัดแพร จังหวัดพะเยา
          จังหวัดลําพูน และจังหวัดอุทัยธานี เพื่อใหเยาวชนเกิดองคความรู ทักษะ และแรงบันดาลใจในการสรางสรรคผลงานประดิษฐคิดคนในอนาคตตอไป













                                                                                        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
           14                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)




     ���������� �� 155.indd   14                                                                              31/1/2567   14:44:10
   9   10   11   12   13   14   15   16