Page 10 - จดหมายข่าว วช 155
P. 10

กิจกรรม วช.



















           การแขงขันออกแบบแผนการบินโดรนแปรอักษร ชิงถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว


                 ส สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา ํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.) กระทรวงการอุดมศึกษา   โดยในคืนวันที่ 17 ธันวาคม 2566 บรรยากาศภายในงานเนืองแนน
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม รวมกับ สมาคมกีฬาเครื่องบินจําลอง ไปดวย ขาราชการจากสวนตาง ๆ และประชาชนในพื้นที่ มารวมชมและรวมเปน
          และวิทยุบังคับ และสถานีโทรทัศนไทยพีบีเอส (Thai PBS) จัดการแขงขัน กําลังใจใหกับผูเขาแขงขันรอบชิงชนะเลิศ นอกจากนี้มีการแสดงจากกลุมชาติพันธุ
          ประกวดออกแบบแผนการบินโดรนแปรอักษร (Drone Light Show  ตาง ๆ ที่แสดงถึงอัตลักษณทองถิ่นของตนเอง อาทิ การแสดงศิลปวัฒนธรรม
          Pattern Design) ในโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการถายทอดเทคโนโลยี จังหวัดนครพนม การแสดงรวมใจไทยสี่ภาค การแสดงจากกลุมชาติพันธุอีซอและ
          โดรนแปรอักษรเพื่อประยุกตสูการใชงาน ชิงถวยพระราชทานพระบาทสมเด็จ กลุมชาติพันธุอาขา
          พระเจาอยูหัว โดยมี ดร.วิภารัตน ดีออง ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัย  สําหรับผลการแขงขันรอบชิงชนะเลิศ ชิงถวยรางวัลพระราชทาน ฯ ภายใต
          แหงชาติ เปนประธานเปดการแขงขัน พรอมดวย คณะผูทรงคุณวุฒิ วช.  หัวขอ “Soft Power ของประเทศไทย” ในครั้งนี้ รางวัลชนะเลิศ ไดแก ทีม Oasis
          เขารวมในพิธี โดยมี นายณรงค อภิชัย ประธานสายปฏิบัติการพัฒนา มูลนิธิ KC จากโรงเรียนคําเขื่อนแกวชนูปถัมภ รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 1 ไดแก ทีม
          แมฟาหลวงในพระบรมราชูปถัมภ นางสลิลญา คําภาแกว นายอําเภอแมอาย  ลูกเจาพอไทรเงิน 2 จาก โรงเรียนพิบูลมังสาหาร รางวัลรองชนะเลิศ อันดับ 2 ไดแก
          นายบุญโรจน กองแกว นายกองคการบริหารสวนตําบลทาตอน พรอมดวย  ทีมฝูงบินตํ่า RNK2 จากโรงเรียนเรณูนครวิทยานุกูล รา งวัลรองชนะเลิศ อันดับ 3
          หัวหนาสวนหนวยงานรัฐวิสาหกิจและสวนราชการ ผูบริหารองคกรปกครอง ไดแก ทีม DoubleIce จากโรงเรียนสามัคคีวิทยาคม รางวัลชมเชยอันดับ 1 ไดแก
          สวนทองถิ่น ใหการตอนรับ เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม 2566 ณ โครงการ ทีมตะโกราย จากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน และรางวัลชมเชย
          รอยใจรักษ อําเภอแมอาย จังหวัดเชียงใหม          อันดับ 2 ไดแก ทีม คําเขื่อนแกวชนูปถัมภ จากโรงเรียนคําเขื่อนแกวชนูปถัมภ

                  “รัฐมนตรีศุภมาส” บรรยายพิเศษ “โอกาสและอนาคตการศึกษาวิจัยและนวัตกรรม”

                               ใหนักเรียนทุนกระทรวง อว. และนักวิจัย ณ สหราชอาณาจักร











                 นางสาวศุภมาส อิศรภักดี รัฐมนตรีว‹าการกระทรวงการอุดมศึกษา เปนตน และสําหรับในสวนของอุดมศึกษา ตนใหความสําคัญกับเรื่อง “เรียนดี
                                                               เปนตน และสําหรับในสวนของอุดมศึกษา ตนใหความสําคัญกับเรื่อง
          วิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรม ไดŒเดินทางมาบรรยายพิเศษเรื่อง “โอกาสและอนาคต มีความสุข มีรายได” และ “วิจัย นวัตกรรมดี ตอบโจทยตรงตามความตองการ”
          การศึกษาวิจัยและนวัตกรรม” เมื่อวันที่ 12 ธันวาคม 2566 ณ สํานักงานผูŒดูแลนักเรียน ดังนั้น นโยบายที่ไดดําเนินการคือการจัดการเรียนการสอนแบบตามใจผูเรียน
          ในสหราชอาณาจักร โดยมีนักศึกษาและนักวิจัยของประเทศไทยที่ไดŒรับทุนมาศึกษาและ ยึดผูเรียนเปนศูนยกลาง รวมทั้งอํานวยความสะดวกและเพิ่มโอกาสใหกับคนไทย
          ทําวิจัยจากหลายสถาบันเขŒาร‹วมรับฟ˜ง                  ไดเขาถึงการศึกษามากขึ้น อาทิ การยกเลิกการเก็บคาสอบ TCAS เปนครั้งแรก
                 โดยนางสาวศุภมาส ฯ ไดกลาววา นักเรียนทุนและนักวิจัยใน ของประเทศไทย เปนตน ซึ่งดิฉันอยากใหนักเรียนทุนและนักวิจัยกลับมารวมกัน
          สหราชอาณาจักรทุกคนอยูในกลุมของผูเรียนเพื่อความเปนเลิศ ซึ่งมีความ ขับเคลื่อนประเทศไทยใหกาวไปขางหนาดวยกัน
          สําคัญตอการพัฒนางานดานวิทยาศาสตร วิจัยและนวัตกรรมของประเทศไทย   หลังจากนั้นนางสาวศุภมาส ฯ ไดเปดโอกาสใหนักเรียนไทยและ
          รวมทั้งเปนกําลังสําคัญในการขับเคลื่อนประเทศใหกาวหนาดวยวิทยาศาสตร  นักวิจัยไดซักถามและแสดงความคิดเห็นอยางเปนกันเอง ซึ่งไดรับความสนใจจาก
          วิจัยและนวัตกรรม สิ่งที่ตนอยากจะเนนยํ้าและอยากใหนักเรียนทุนและนักวิจัย นักเรียนและนักวิจัยไทยเปนอยางมาก
          ใหความสําคัญคืองานวิจัยที่เปนเทคโนโลยีอุบัติใหม (Emerging Technology)   โดยนางสาวศุภมาส ฯ ไดตอบทุกคําถามรวมทั้งให ดร.วิภารัตน ดีออง
          เชน เทคโนโลยีอวกาศ (Space Technology) หรือที่กระทรวง อว. กําลังขับเคลื่อน ผูอํานวยการสํานักงานการวิจัยแหงชาติ รวมตอบขอซักถามและใหขอคิดเห็น
          คือ การสงดาวเทียมธีออส - 2 หรือโครงการระบบดาวเทียมสํารวจเพื่อการพัฒนา ในประเด็นนักเรียนทุนใหความสนใจเพิ่มเติม พรอมรับขอคิดเห็นที่เปนประโยชน
          ขึ้นไปในวงโคจร ซึ่งเปนการลงทุนที่สูง แตเปนการลงทุนเพื่ออนาคต ซึ่งจะได โดยมีการแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับงานทางดานการศึกษา งานวิจัย ทั้งประเภท
          ผลกระทบทางดานเศรษฐกิจกลับมา นอกจากนี้ยังมีอีกหลายเรื่องที่กระทรวง อว.  เทคโนโลยีสําหรับอนาคต เทคโนโลยีขั้นสูง และงานวิจัยพื้นฐาน เพื่อสนับสนุน
          ใหความสําคัญเพราะเปนเรื่องที่สงผลกระทบตอการใชชีวิตของประชาชนโดยตรง  และสรางโอกาสใหคนรุนใหม ๆ เขามาชวยใหประเทศไทยสามารถทํางานวิจัย
          อาทิ ความเปนกลางทางคารบอน, หุนยนต, ปญญาประดิษฐ (AI) และพลังงาน  ที่สามารถแขงขันกับนานาประเทศ
                                                                                        สํานักงานการวิจัยแหงชาติ (วช.)
           10                                                                           National Research Council of Thailand (NRCT)




     ���������� �� 155.indd   10                                                                              31/1/2567   14:42:59
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15